1 / 39

สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)

สารชีวโมเลกุล (Biomolecules). นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ www.mwit.ac.th/~sp. ความหมายของสารชีวโมเลกุล. สารที่สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ในกระบวนการดำรงชีวิต โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดนิวคลีอิก.

dimaia
Download Presentation

สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารชีวโมเลกุล(Biomolecules) นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ www.mwit.ac.th/~sp

  2. ความหมายของสารชีวโมเลกุลความหมายของสารชีวโมเลกุล • สารที่สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ในกระบวนการดำรงชีวิต • โปรตีน • คาร์โบไฮเดรต • ลิพิด • กรดนิวคลีอิก นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  3. โปรตีน(Protein) • โปรตีนเป็นสารชีวโมเลกุล(Biomolecules) ซึ่งเป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่ เกิดจากโมเลกุลเล็กๆหลายๆโมเลกุลมาเชื่อมต่อกัน • โมเลกุลเล็กของโปรตีนเรียกว่า กรดอะมิโน(Amino acid) • โปรตีนเป็นสารที่พบมมากที่สุดในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปในเซลล์พืชและสัตว์มีโปรตีนอยู่มากกว่าร้อยละ50ของน้ำหนักแห้ง • ธาตุองค์ประกอบที่สำคัญคือ C, H, O และ N นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  4. กรดอะมิโน(Amino acid) นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  5. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  6. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  7. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  8. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  9. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  10. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  11. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  12. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  13. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  14. ตัวอย่างกรดอะมิโน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  15. กรดอะมิโน • กรดอะมิโนเป็นสารที่มีสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส ถ้าโมเลกุลอยู่ใน pH ที่เหมาะสมจะแสดงสภาพเป็นทั้งไอออนบวกและไอออนลบในโมเลกุลเดียวกัน เรียกว่า Zwitterion นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  16. พันธะเพปไทด์(Peptide bond) Peptide bond นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  17. พันธะเพปไทด์(Peptide bond) นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  18. พันธะเพปไทด์(Peptide bond) นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  19. โมเลกุลเพปไทด์ ที่มา : ชีวเคมีเบื้องต้น, รศ.เรืองลักขณา จามิกรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  20. โมเลกุลเพปไทด์ นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  21. การเขียนลำดับของกรดอะมิโนการเขียนลำดับของกรดอะมิโน • Tyrosine(Tyr) • Histidine(His) • Cysteine(Cys) นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  22. การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์ • ให้เรียกชื่อกรดอะมิโนลำดับแรก...และลำดับถัดมา โดยเปลี่ยนคำลงท้ายจาก -อีน(-ine) เป็น-อิล(-yl) แล้วต่อด้วยชื่อกรดอะมิโนลำดับสุดท้าย..........ดังตัวอย่าง Tyrosine – Histidine – Cysteine Tyr – His – Cys Tyrosylhistidylcysteine นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  23. การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์การเรียกชื่อโมเลกุลเพปไทด์ นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  24. โครงสร้างของโปรตีน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  25. โครงสร้างของโปรตีน http://courses.cm.utexas.edu/jrobertus/ch339k/overheads-1/ch5-16.JPG นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  26. โครงสร้างปฐมภูมิ • เป็นโครงสร้างที่แสดงลำดับกรดอะมิโนในสายเพปไทด์หรือในโมเลกุลโปรตีน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  27. โครงสร้างทุติยภูมิ • เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการขดหรือม้วนตัวของโครงสร้างปฐมภูมิ และเกิดการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O….N-H เกิดโครงสร้างแบบ-helix และ -plated sheet นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  28. โครงสร้างตติยภูมิ • เป็นโครงสร้างที่เกลียวแอลฟาและบริเวณที่ไม่ใช่เกลียวแอลฟาม้วนเข้าหากันและไขว้กันโดยมีแรงยึดเหนี่ยวอ่อนๆ นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  29. โครงสร้างจตุรภูมิ • เป็นโครงสร้างที่เกิดจากการรวมตัวของหน่วยย่อยชนิดเดียวหรือต่างชนิดกันของโครงสร้างตติยภูมิ อาจจะมีการรวมกันเป็นลักษณะก้อนกลมหรือเป็นมัดคล้ายเส้นใย นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  30. ประเภทของโปรตีน โปรตีนเส้นใย(fibrous protein) โปรตีนก้อนกลม(globular protein) (การจัดตัวในโครงสร้าง 3 มิติ) http://courses.cm.utexas.edu/jrobertus/ch339k/overheads-1/ch6_collagen.jpg นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  31. โปรตีนก้อนกลม เกิดจากสายพอลิเพปไทด์รวมตัวม้วนพับพันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม ละลายน้ำได้ดี ทำหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ โปรตีนเส้นใย เกิดจากสายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยยาวๆ ละลายน้ำได้น้อย ทำหน้าที่เป็นโปรตีนโครงสร้าง มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง ประเภทของโปรตีน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  32. ตัวอย่างโปรตีนเส้นใย Keratin Silk นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  33. ตัวอย่างโปรตีนก้อนกลมตัวอย่างโปรตีนก้อนกลม Casein Albumin Enzyme นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  34. ประเภทของโปรตีน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  35. ประเภทของโปรตีน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  36. ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีนปัจจัยที่มีผลต่อการแปรสภาพของโปรตีน • ความร้อนและรังสีอัลตราไวโอเลต • ตัวทำละลายอินทรีย์ เช่น เอทานอล แอซิโตน • ความเป็นกรด หรือเป็นเบส • การฉายรังสีเอกซ์(X – ray) • การเขย่าหรือเหวี่ยงแรงๆ ทำให้ตกตะกอน นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  37. การทดสอบไบยูเรต(Biuret test) • การทดสอบไบยูเรต เป็นปฏิกิริยาเฉพาะที่ให้ผลกับสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป ให้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของCu2+กับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของไนโตรเจนในพันธะเพปไทด์และน้ำ นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  38. เอ็นไซม์(Enzyme) • เอ็นไซม์ เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  39. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ • ชนิดของสารตั้งต้น • ความเข้มข้นของสารตั้งต้น • ความเข้มข้นของเอนไซม์ • ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย • อุณหภูมิ • สารยับยั้ง สารกระตุ้น นายสุนทร พรจำเริญ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

More Related