310 likes | 1.01k Views
คำอธิบายรายวิชา. หลักการเพาะปลูกพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสภาพแวดล้อม การปฏิบัติรักษา การอนุรักษ์พืชและปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวข้อง. Principle + Crop + Production. มีปัจจัยหลายอย่างมาเกี่ยวข้อง เศรษฐกิจ + สังคม ทั้งภายในและภายนอก
E N D
คำอธิบายรายวิชา หลักการเพาะปลูกพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสภาพแวดล้อม การปฏิบัติรักษา การอนุรักษ์พืชและปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวข้อง Principle + Crop + Production มีปัจจัยหลายอย่างมาเกี่ยวข้อง เศรษฐกิจ + สังคม ทั้งภายในและภายนอก ประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง + ผลกระทบจากวิธีการผลิต “นักการผลิตต้องรู้รอบ ” บทนำวิชาหลักการกสิกรรม
หลักการกสิกรรม(Principles of Crop Production) คืออะไร นายสุรยุทธ์ คือใคร จุลานนท์ • เกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง • เกี่ยวข้องกับใครบ้าง • วิทยาการสาขาที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาการ
AGRICULTURAL DISCIPLINES AND RELATED SCIENCES สาขาวิชาด้านเกษตรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
-ประมง - ป่าไม้ มก. วิชาการด้านเกษตรศาสตร์ ของ คณะทรัพยากรธรรมชาติ + สาขาการจัดการศัตรูพืช + สาขาปฐพีศาสตร์ + สาขาพัฒนาการเกษตร + สาขาพืชศาสตร์ + สาขาสัตว์ศาสตร์ ต้องมีความรู้พื้นฐานทั่วไปด้านวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ
DEFINITION OF AREAS OF AGRICULTURAL DISCIPLINES Agriculture - ('agri' L. = field, 'cultura' L.=cultivation) - the science and technology of growing and raisingplants and animals. Crop Production - Crop Husbandry- (husband-man)
AREAS OF AGRICULTURE 1) Forestry 2) Agronomy 3) Horticulture
AREAS OF AGRICULTURE 1) Forestry- วนศาสตร์ - ป่าไม้ - the science and technology of culturing, utilizing and improving forest trees and their products. - ex. pulp, resins, oils, etc.
AREAS OF AGRICULTURE 2) Agronomy- พืชไร่ - the science and technology of culturing, utilizing and improving field crops. - grain, fiber and forage crops
AREAS OF AGRICULTURE 3) Horticulture - พืชสวน ('hortus' L. = garden, 'cultura' L. = cultivation) - the science, technology and art of culturing, utilizing and improving fruit, vegetable, flowering and ornamental plants
AREAS OF HORTICULTURE 1) Olericulture - vegetable culture and production 2) Pomology - fruit and nut culture and production 3) Ornamental Horticulture - plants grown for aesthetic uses, improvement of quality of life and our environment, and functional uses (ex: energy conservation). 4) Turf- grasses for lawns, landscapes, sport facilities and golf courses (in Agronomy in many Universities)
AREAS OF ORNAMENTAL HORTICULTURE 1) Floriculture- flowering and foliage plant culture and production 2) Floristry- floral design and retail floristry operation 3) Nursery Production - tree, shrub and vine culture and production 4) Landscape Horticulture - exterior and interior design, construction and maintenance of landscapes
พืชปลูก หลักการ การผลิต Principle + Crop + Production
ทำไมต้องเรียนวิชานี้?ทำไมต้องเรียนวิชานี้? ความสำคัญและประโยชน์ 1. ความสำคัญด้านอาหารและเครื่องนุ่งห่ม 2. ความสำคัญด้านการเลี้ยงสัตว์ 3. ความสำคัญด้านเศรษฐกิจ 4. ความสำคัญทางด้านอุตสาหกรรม Principle + Crop + Production
ความหมายของคำว่าพืชปลูกความหมายของคำว่าพืชปลูก พืชปลูก(Crop Plants) กาแฟ ขนมปัง • พืชปลูกมีอะไรบ้าง • แหล่งผลิตพืชปลูก • ระบบและวิธีการจำแนก
CLASSICAL GUIDELINESFOR PLACEMENT OF A CROP INHORTICULTURE, AGRONOMY OR FORESTRY 1)Intensity of Production - example strawberries vs.cotton 2) Purpose Crop is Grown - example oak or pecan trees in forest vs. landscape 3) Tradition or Custom - example sweet vs. field corn, or tobacco
พืชไร่กับพืชสวน(Field Crops VS Horticulture Crops) วิธีปฏิบัติ : ความประณีต กับ ไม่ประณีต ขนาดพื้นที่ : ขนาด เล็ก ใหญ่ จุดประสงค์ของการปลูก : หากปลูกเป็นอาหารหลักสำหรับสัตว์-มนุษย์ จัดว่าเป็นพืชไร่
สภาวะการผลิตอาหารของโลกสภาวะการผลิตอาหารของโลก • ทฤษฏีอาหารของ Malthus (Multhusthian Theory) • การเพิ่มของอาหารมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเลขคณิต(Arithmetic Progression) • การเพิ่มของประชากรมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเรขาคณิต (Geometric Progression)
อนุกรมเลขคณิต vs.อนุกรมเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต (arithmetic series) คือ ผลบวกของจำนวนในการก้าวหน้าเลขคณิต บทนำวิชาหลักการกสิกรรม
ลักษณะของการ เติบโตของประชากร โลกในช่วง ห้าศตวรรษ
แคลอรี Fa M Fa M Fr Fr Su ST ST Su Fruits,vegetables legumes and nuts C Cereal C สหรัฐ เมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เปรู กัวนา อินเดีย Starch staples Meat,fish eggs and milk Fats and oils Sugars and sweets ลักษณะการปริโภคอาหารของประเทศต่างๆใน 6 ประเทศ อาหารแป้งอื่นๆ ประเทศเจริญ บริโภคเนื้อมากส่วน ประเทศยากจนบริโภค ธัญพืชมาก (สินค้าแปรรูป กับ ไม่แปรรูป ทำไม?
คนเพิ่มอาหารต้องเพิ่ม-ทำอย่างไร?คนเพิ่มอาหารต้องเพิ่ม-ทำอย่างไร? 1. ต้องผลิตอาหารให้ได้มากขึ้นโดย • 1.1 เพิ่มพื้นที่การปลูก • 1.2 การเพิ่มจำนวนการปลูกพืชในพื้นที่เดียว(Multiple Cropping) - Sequential Cropping - Intercropping - Relay cropping - Ratoon Cropping • 1.3 ใช้เทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
1.3 เทคโนโลยี่การผลิตพืช พันธุ์พืชใหม่ New Variety การเขตกรรม Cultural Practices การปลูกพืชหมุนเวียน Crop rotation การให้น้ำพร้อมปุ๋ย Fertigation ความหนาแน่นในการปลูก Plant density สารควบคุมการเจริญเติบโต Plant Growth Regulators สารกำจัดวัชพืช Plant Herbicides การควบคุมโรคและแมลง Pest and Disease Controls
ความสำคัญของนักวิชาการด้านพืชศาสตร์ความสำคัญของนักวิชาการด้านพืชศาสตร์ • ปีพ.ศ. 2388 เกิดโรคที่เรียกว่า“โรคไหม้ก่อนเก็บเกี่ยว( Late blight)”ของมันฝรั่งในประเทศไอแลนด์ทำให้ประชากรประเทศนี้เกิดอดอยากล้มตายและย้ายถิ่นฐานนับล้านคน • สาเหตุเกิดจากPhytophthora infestans • โรคที่เกิดขึ้นกับข้าวสาลีและธัญญพืชอื่นๆมาตั้งแต่โบราณคือโรคราสนิม(Stem rust) • การค้นพบสารกำจัดวัชพืชต่างเช่น 2,4-D และสารกำจัดวัชพืชอื่นๆ • การค้นพบพันธุ์ข้าวข้าวโพดข้าวสาลีฝ้ายและอื่นๆในยุคต่างๆ
2.การหาแหล่งอาหารอื่นๆทดแทน2.การหาแหล่งอาหารอื่นๆทดแทน • พัฒนาจากส่วนเหลือใช้ของพืชปลูกมาปรับใช้ประโยชน์ เช่นขี้เลื่อยไม้ยาง ฟางข้าว กากทะลายปาล์ม ลำต้นหม่อน ใช้เพาะเห็ดเป็นต้น อาหารและยา -เช่นหัวบุก (คอนยัคขุ-ญี่ปุ่น) ใช้บริโภคเป็นอาหารมีเส้นใยอาหารสูงไม่มีไขมันแคลอรี่ต่ำ“สารกลูโคแมนแนน” ในหัวบุกสามารถดูดซับน้ำได้ดีพองตัวเป็นวุ้นได้ถึง 30-50 เท่าช่วยให้อุจจาระนิ่มถ่ายคล่อง • พัฒนาอาหารจากสาหร่ายหรือพืชชั้นต่ำอื่นเช่นยีสต์ หรือการทำฟาร์มในทะเล - สาหร่าย สไปรูลิน่า
Sun การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศน์ Light energy Respiration Photo synthesis ผู้ผลิต สัตว์กินพืช สัตว์กินสัตว์ 1 สัตว์กินสัตว์2 Secondary Carnivorous Herbivorous Carnivorous Producer ห่วงโซ่อาหาร(Food Chain) แร่ธาตุอาหาร จุลินทรีย์ มนุษย์ สิ่งมีชีวิตต้องกินอาหารเพื่ออยู่ Heat Energy การ กสิกรรม กับ ระบบนิเวศน์ จุลินทรีย์ แร่ธาตุในดิน
2 1 กิน เปลี่ยนแปลง ถ่าย เคลื่อนย้าย ตัวอย่างบ้าน(นิเวศน์)ของกวางในภาพ
ระบบนิเวศน์ • นิเวศวิทยา(Ecology) • Oikos = บ้านหรือที่อยู่อาศัยOlogy = การศึกษา • หมายถึงการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ระบบนิเวศ(Ecosystem) • หมายถึงระบบที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตด้วยกันและระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่ซึ่งทำให้เกิดการโยกย้ายถ่ายเทสสารและพลังงานเป็นวัฎจักรหรือเขียนได้ว่า • ระบบนิเวศ= กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่
ความหมายของคำบางคำ เกษตรศาสตร์(Agricultural Science) เกษตรกรรม (Agriculture) กสิกรรม(Crop Husbandry) วิชาพืชไร่(Agronomy) วิชาพืชสวน(Horticulture) พืชกสิกรรม(Crop plants) พืชไร่(Field Crops) พืชสวน(Horticulture Crops) อ่าน: นคร ณ ลำปาง.2527. หลักการผลิตพืช. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับพืชกลุ่มต่างๆคือพืชสวนพืชไร่ป่าไม้เราเรียนศึกษาเพราะมีความสำคัญต่อปัจจัยสี่เป็นงานที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจสังคมอุตสาหกรรมความเป็นอยู่(ระบบนิเวศน์)ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมความรู้ทางพืชศาสตร์ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆทำให้โลกมีความมั่นคงทางด้านอาหารยารักษาโรคพลังงานตลอดทั้งความเป็นอยู่ด้านต่างๆทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น(เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับพืชกลุ่มต่างๆคือพืชสวนพืชไร่ป่าไม้เราเรียนศึกษาเพราะมีความสำคัญต่อปัจจัยสี่เป็นงานที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจสังคมอุตสาหกรรมความเป็นอยู่(ระบบนิเวศน์)ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมความรู้ทางพืชศาสตร์ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆทำให้โลกมีความมั่นคงทางด้านอาหารยารักษาโรคพลังงานตลอดทั้งความเป็นอยู่ด้านต่างๆทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น( สรุป การกสิกรรม
ในคณิตศาสตร์การก้าวหน้าเลขคณิต (arithmetic progression) คือ ลำดับของจำนวนซึ่งมีผลต่างของสมาชิกสองตัวที่อยู่ติดกันในลำดับเป็นค่าคงที่ ตัวอย่างเช่น ลำดับ 3, 5, 7, 9, 11, ... เป็น การก้าวหน้าเลขคณิต ที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 2 • an = a1 + (n - 1)d ผลบวกของจำนวนใน (ในส่วนเริ่มต้นของ) การก้าวหน้าเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเรขาคณิต (geometrical series) คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกลำดับเรขาคณิตเข้าด้วยกัน สมการของอนุกรมเรขาคณิต พจน์แรก คือ = เมื่อ คือ พจน์แรกของอนุกรม และ คือ อัตราส่วนร่วมของอนุกรม