html5-img
1 / 31

Therapeutic Communication

Therapeutic Communication. อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช. การสื่อสารเพื่อการบำบัด. Happy. ความต้องการของผู้ป่วย. เรียนรู้ใหม่. ความเข้าใจพยาบาล. การสื่อสารเพื่อการบำบัด. ภาษาพูด. ภาษาท่าทาง. สัญลักษณ์. ดนตรี. การดูแลที่ดี โดยผ่านกระบวนการสื่อสาร.

daktari
Download Presentation

Therapeutic Communication

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Therapeutic Communication อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

  2. การสื่อสารเพื่อการบำบัดการสื่อสารเพื่อการบำบัด Happy ความต้องการของผู้ป่วย เรียนรู้ใหม่ ความเข้าใจพยาบาล

  3. การสื่อสารเพื่อการบำบัดการสื่อสารเพื่อการบำบัด ภาษาพูด ภาษาท่าทาง สัญลักษณ์ ดนตรี การดูแลที่ดี โดยผ่านกระบวนการสื่อสาร

  4. กระบวนการสื่อสาร ประกอบด้วย ข้อมูล/สาร ผู้ส่งสาร ช่องทาง การย้อนกลับ ผู้รับสาร

  5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสารเพื่อการบำบัดปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสารเพื่อการบำบัด Environment Context Culture Experience Coping ability Psychopathology Culture Experience Knowledge of Psychopathology Skill to guide Patient Nurse communication

  6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสื่อสาร (ต่อ) Attitude cultural perception experience environment Ability to Relate To others knowledge

  7. เป้าหมายการสื่อสารเพื่อการบำบัดเป้าหมายการสื่อสารเพื่อการบำบัด • เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด • สร้างบรรยากาศระหว่าง N & Pt. • สำรวจ + ความเข้าใจ ความคิด ความรู้สึก พฤติกรรม และปัญหาของผู้ป่วย • ช่วยให้ผู้ป่วยตระหนักในความคิด ความรู้สึก พฤติกรรม และปัญหาของตัวเอง

  8. บทบาทของพยาบาลในการสื่อสารบทบาทของพยาบาลในการสื่อสาร ผู้เอื้อประโยชน์ ผู้ประสานงาน

  9. สิ่งที่พยาบาลต้องปฏิบัติเพื่อเอื้อต่อการสื่อสารเพื่อการบำบัดสิ่งที่พยาบาลต้องปฏิบัติเพื่อเอื้อต่อการสื่อสารเพื่อการบำบัด • การฟังโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง • การไม่ด่วนตัดสินใจ • การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด • การตระหนักในวัจนภาษาและอวัจนภาษา • การสร้างความไว้วางใจ

  10. การรู้จักตนเอง การซื่อสัตย์ต่อความรู้สึกของตนเอง มั่นใจในความสามารถของตนเอง ไวต่อความต้องการของผู้อื่น มีความสม่ำเสมอ ยอมรับอาการวิตกกังวล สังเกตการแสดงอวัจภาษาของตนเอง ระวังการใช้คำพูด ยอมรับความแตกต่าง ยอมรับและประเมินผลการตอบสนองของตนเอง การพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารของพยาบาล

  11. ความล้มเหลวในการฟัง ความขัดแย้งของข้อมูลที่เป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษา ทัศนคติ ความเข้าใจที่ผิดและการแปลความผิดพลาด การให้แรงเสริมในทางที่ผิด ให้คำแนะนำมากกว่ากระตุ้นให้ผู้ป่วยตัดสินใจ แสดงความไม่เห็นด้วย ขาดความสามารถในการรับข้อมูล การเปลี่ยนหัวข้อสนทนา สิ่งที่ทำให้การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ

  12. บทบาทของผู้ป่วยในการสื่อสารบทบาทของผู้ป่วยในการสื่อสาร • ร่วมกับพยาบาลในการสำรวจและประเมินปัญหา • ร่วมกับพยาบาลในการกำหนดเป้าหมาย + วางแผนแก้ปัญหา • ให้ความร่วมมือในด้านต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษา • ร่วมกับพยาบาลในการประเมินผลการบำบัดรักษา

  13. ความแตกต่างระหว่างการสื่อสารเพื่อการบำบัด และการสื่อสารเพื่อสังคม

  14. หลักการสื่อสารเพื่อการบำบัดหลักการสื่อสารเพื่อการบำบัด • Client – centeredness • Goal – directedness • Autheticity • Self – discloser • Confidentiality • Acceptance • Collaboration

  15. Therapeutic communication techniques เปลี่ยนแปลงทางบวก เทคนิคการสื่อสาร

  16. Assessment Offering self Active listening Silence Empathy Question Broad opening statement General leads ทักษะและเทคนิคการสื่อสาร

  17. มีสมาธิ + ติดตามเรื่องที่ผู้ป่วยพูด สังเกตพฤติกรรมทั้งวัจนและอวัจภาษา ต้องมีหูที่สาม เข้าไปนั่งในหัวใจผู้ป่วย แสดงให้ผู้ป่วยรับรู้ว่าฟังอยู่ ทำใจเป็นกลาง มีความอดทน ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้คิด และกระตุ้นให้เล่าต่อ การฟังให้เกิดประสิทธิภาพ พยาบาลต้อง

  18. Active listening • สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย • ฟังและทำความเข้าใจกับข้อมูลของผู้ป่วย • ฟังและทำความเข้าใจบุคคลในชีวิตของผู้ป่วย • ฟังเพื่อค้นหาสิ่งที่ผิดปกติบแก่ผู้ป่วย • ให้ข้อมูลย้อนกลับในสิ่งที่ผู้ป่วยไม่ตระหนัก

  19. ทางบวก เงียบเพื่อเว้นจังหวะ เงียบเมื่อผู้ป่วยเจ็บ + เสียใจ เงียบเพื่อพักเหนื่อย เงียบเพื่อคิด เงียบทางลบ เพราะอึดอัด กังวล ไม่สบายใจ ไม่มั่นใจในตัวเอง การเงียบแบ่งเป็น 2 ประเภท

  20. ทักษะและเทคนิคการสื่อสาร(ต่อ)ทักษะและเทคนิคการสื่อสาร(ต่อ) • Exploring • Reflecting • Restating • Paraphrasing • Validating • Clarifying • Verbalizing the implied Assessment

  21. Sharing observation Present reality Encouraging description of perception Voicing doubt Placing an event in time or sequence Encouraging comparison Identifying themes summarizing Focusing Nursing Diagnosis

  22. Planning • Suggesting callaboration • Encouraging goal setting • Encouraging formulation of a plan of action • Giving information • Encouraging consideration of option • Encouraging decision

  23. Implementation • Rehearing • Role play • Confrontation • Supportive confrontation • Feedback

  24. Evaluation • Encouraging evaluation • Reinforcement

  25. ปัญหาที่พบบ่อยในการสื่อสารเพื่อการบำบัดปัญหาที่พบบ่อยในการสื่อสารเพื่อการบำบัด • อึดอัดไม่รู้จะพูดอะไรกับผู้ป่วย • ไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรเมื่อผู้ป่วยร้องไห้ หรือพูดเรื่องที่นักศึกษาไม่อยากฟัง • ใช้เทคนิคการสื่อสารไม่เหมาะสม • แปลความหมายของเนื้อหา +เรื่องราวผู้ป่วยผิดพลาด • พยาบาลพูดมาก หรือพูดน้อยเกินไป • ไม่รับฟังผู้ป่วย หรือ ฟังอย่างไม่ตั้งใจ • มีผู้ป่วยอื่นรบกวนการสนทนา • ผู้ป่วยไม่ยอมสนทนาด้วย

  26. สิ่งที่นักศึกษามักกังวลในการสนทนาระยะแรกของการสร้างสัมพันธภาพสิ่งที่นักศึกษามักกังวลในการสนทนาระยะแรกของการสร้างสัมพันธภาพ จะเริ่มสนทนาอย่างไร จะตอบสนองกับพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างไร

  27. จัดสถานที่ จัดท่านั่ง บอกชื่อนักศึกษา บอกสถาบัน บอกวัตถุประสงค์ บอกระยะเวลา เริ่มด้วยคำถามปลายเปิด เราจะเริ่มสนทนาที่จุดไหนดี บอกอะไรขึ้นกับคุณ เมื่อเครียดคุณทำอย่างไร สัปดาห์ที่ผ่านมามีอะไรเกิดขึ้นกับคุณบ้าง อะไรบ้างที่เป็นความแยกลำบาก ลองบอกความกังวลหรือสิ่งที่คุณไม่สบายใจเมื่อไม่นานมานี้ออกมา จะเริ่มต้นสนทนาอย่างไร

  28. คำถามที่ไม่เหมาะสม • เพราะอะไรคุณถึงแยกทางกับภรรยาของคุณ • คุณรู้สึกโกรธภรรยาของหรือเปล่า • เพื่อคุณเขาทำอะไรกับคุณหละ • คุณจะกลับไปคืนดีกับภรรยาหรือเปล่า คำถามเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่ดี

  29. จะตอบสนองผู้ป่วยอย่างไรจะตอบสนองผู้ป่วยอย่างไร แนวทางการแก้ปัญหาการสื่อสารเพื่อการบำบัด • ค้นหาปัญหา นำมาวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข • ฝึกฝนการใช้เทคนิคต่างๆ ในการสนทนา • มีการยอมรับผู้ป่วย • หมั่นตรวจสอบความเข้าใจตนเอง และ การตระหนักรู้ในตนเอง • ฝึกทักษะการเป็นผู้ฟัง • ตรวจสอบ วิเคราะห์และพิจารณาหลังสื่อสารกับผู้ป่วย

  30. การช่วยเหลือผู้ป่วยมุ่งที่ผลลัพธ์มากกว่าที่ตัวผู้ป่วยการช่วยเหลือผู้ป่วยมุ่งที่ผลลัพธ์มากกว่าที่ตัวผู้ป่วย เทคนิคการสื่อสารบางเทคนิคทำหน้าที่หลายอย่าง ทุกประโยคที่พูดไม่จำเป็นต้องเป็นเทคนิค มีการใช้เทคนิคกลับไปกลับมาในระหว่างขั้นตอนกระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาลสามารถเกิดได้ทุกระยะของสัมพันธภาพ สรุปสาระสำคัญ

  31. สรุปสาระสำคัญ (ต่อ) • การฟังที่ดี ต้องมีสมาธิ หรือความตั้งใจ เพื่อเป็นแนวทางในการสนทนาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ • สิ่งที่ขัดขวางการสื่อสารเพื่อการบำบัด คือ ความกลัว การขาดความรู้ ความไม่มั่นใจ และการตอบสนองไม่มีประสิทธิภาพ • การสื่อสารเพื่อการบำบัดมีการวางแผนและเป้าหมาย • เป้าหมายสำคัญของการสื่อสารเพื่อการบำบัด คือ เพื่อให้เข้าใจผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยไว้วางใจ เพื่อฝึกทักษะการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ

More Related