560 likes | 794 Views
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ. สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร์(ส42102) ระดับชั้น ม.5. จัดทำโดย..นางสาวธนาพร เหรียญทอง โรงเรียนปิยะบุตร์. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ. สิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2. ความเสียหายจากสงคราม.
E N D
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร์(ส42102) ระดับชั้น ม.5 จัดทำโดย..นางสาวธนาพร เหรียญทอง โรงเรียนปิยะบุตร์
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ความเสียหายจากสงคราม ภาวะความอดอยาก ทำให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ 1. การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป 2. การร่วมมือทางเศรษฐกิจ เฉพาะบางภูมิภาค
1. การร่วมมือทางเศรษฐกิจทั่วไป 1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ(IMF) 2. ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา (IBRD)
1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) สังกัดองค์การสหประชาชาติ มีสมาชิก 154 ประเทศ 1. รักษาเสถียรภาพของอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา 2. ส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัว 3. ให้ประเทศสมาชิกกู้เงินเมื่อเกิดปัญหาขาดดุลฯ
2. ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะ และพัฒนา (IBRD) หน้าที่ ให้ประเทศกำลังพัฒนากู้เงินไปใช้จ่ายเพื่อพัฒนาประเทศในด้านการศึกษา เกษตรกรรม อุตสาหกรรม คมนาคม และสาธารณูปโภค ยกเว้นการซื้ออาวุธ และกิจการทหาร
2. การร่วมมือทางเศรษฐกิจเฉพาะบางภูมิภาค องค์การค้าโลก WTO สหภาพยุโรป EU โอเปก OPEC กลุ่มเอเปกAPEC เขตการค้าเสรีอาเซียน AFTA กลุ่มอาเซียนASEAN เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA
การก่อตั้ง WTO เป็นองค์กรที่พัฒนามาจาก ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (แกตต์ ) เพื่อจำกัดระบบโควตา และภาษีอากรค้าระหว่างประเทศสมาชิก ตามข้อกำหนดของทบวงการชำนัญพิเศษด้านเศรษฐกิจของสหประชาชาติ ปี 2538 เปลี่ยนมาเป็น องค์กรการค้าโลก(WTO)
การก่อตั้งWTO เริ่มดำเนินการตามแนวทางของแกตต์ เมื่อ 1 มกราคม 2491 มีสมาชิก 23 ประเทศ สำนักงานใหญ่ อยู่ที่ เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมีสมาชิก 134 ประเทศ
องค์การค้าโลกWTO มีหน้าที่ 1. ระงับกรณีพิพาททางการค้าระหว่างสมาชิก 2. สนับสนุนนโยบายการค้าเสรี เพื่อให้สมาชิก ยกเลิกการกีดกันการค้า เช่น การตั้งกำแพงภาษี 3. คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของสมาชิก
องค์การค้าโลกWTOกับประเทศไทยองค์การค้าโลกWTOกับประเทศไทย 1. สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า คือ ไหมไทย และข้าวหอมมะลิ 2. ข้อพิพาททางการค้าที่ไทยยกขึ้นฟ้องร้อง เช่น สินค้านำเข้าปลาทูน่าแก่ประเทศในทวีปแอฟริกา และแคริบเบียน ทำให้ภาษีนำเข้าเป็น 0 แต่ไทยต้องจ่ายสูงถึงร้อยละ 24 ไม่เป็นธรรมต่อไทย
สมาชิกสหภาพยุโรป EU เป็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจในทวีปยุโรป
สมาชิกสหภาพยุโรป EU สมาชิกเดิม 15 ประเทศ สมาชิกใหม่ 10 ประเทศ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี กรีซ ไอร์แลนด์ ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ โปรตุเกส สเปน ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน เช็ก ไซปรัส มอลตา เอสโตเนีย ลิทัวเนีย ลัตเวีย สโลวาเกีย โปแลนด์ ฮังการี สโลวีเนีย
การจัดตั้งสหภาพยุโรป EU ฝรั่งเศส ตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป และจัดตั้งเป็นองค์กรECSCเมื่อ 18 เมษายน 2494 มีสมาชิก เยอรมนี เบลเยี่ยม อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์
การจัดตั้งสหภาพยุโรปEUการจัดตั้งสหภาพยุโรปEU ต่อมาร่วมจัดตั้งองค์การป้องกันยุโรป EDCเพื่อร่วมมือกันทางการเมือง และสนับสนุนองค์การนาโต ต่อมารวมตัวทางเศรษฐกิจแทน จึงตั้งเป็นกลุ่มประชาคมยุโรป หรือตลาดร่วมยุโรปและประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป หรือยูเรคอม EAEC ปี 2500
การจัดตั้งสหภาพยุโรปEUการจัดตั้งสหภาพยุโรปEU ต่อมารวมเป็นองค์กรเดียวกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป EC ปี 2510 เพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เปลี่ยนชื่อ เป็นสหภาพยุโรป EU เป็นการร่วมมือทางเศรษฐกิจและ ทางการเมืองระหว่างประเทศสมาชิก คือ เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร กรีซ โปรตุเกส สเปน ออสเตรีย ฟินแลนด์ สวีเดน
EU กับประเทศไทย ประเทศไทย เข้าเป็นสมาชิก อันดับที่ 59 เมื่อ 28 ธันวาคม 2538 สหภาพยุโรป เป็นตลาดส่งสินค้าที่สำคัญของไทย อันดับที่ 3 รองจากสหรัฐอเมริกาและอาเซียน ได้แก่ มันสำปะหลัง ไก่-กุ้งสดแช่แข็ง ชิ้นส่วนแผงวงจรไฟฟ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องใช้ไฟฟ้า
วัตถุประสงค์สหภาพยุโรป EU 1. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรใน ยุโรปให้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์สหภาพยุโรป EU 3. กำจัดอุปสรรคทางการค้า และกำหนด การใช้เงินสกุลเดียว (ยูโร)
กลุ่มเอเปกAPEC “กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน ภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก”
กลุ่มเอเปกAPEC เกิดจากการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ และรัฐมนตรีเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ในปี 2532 มีสมาชิกทั้งหมด 21 ประเทศ
วัตถุประสงค์กลุ่มเอเปกAPEC 1. มุ่งการค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิก 2. ลดอุปสรรคหรือข้อจำกัดทางการค้าระหว่างประเทศ และลดภาษีสินค้าเข้าให้น้อยลง 3. ให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกในด้านต่าง ๆ
ไทยกับกลุ่มเอเปกAPEC ไทยอยู่ในฐานะภาคีสมาชิกประเทศหนึ่งที่มูลค่าการค้าสูง แต่เป็นฝ่ายเสียดุลการค้า ถ้าประเทศสมาชิกใช้มาตรการการค้า หรือเปิดตลาดสินค้าบางชนิดที่กดดัน กับประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งไม่พร้อมที่จะยอมรับ ทำให้เกิดผลเสียต่อสินค้า ระบบภาษี หรือเศรษฐกิจของไทยได้
ผลดีของไทยกับกลุ่มเอเปกAPEC 1. มีโอกาสแสดงความคิดเห็น เพื่อปกป้องผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ และการค้า มากขึ้น
ผลดีของไทยกับกลุ่มเอเปกAPEC 2. ได้รับความช่วยเหลือในการถ่ายทอดเทคโนโลยี รับข้อมูลข่าวสาร และการวิจัยทางเศรษฐกิจ 3. มีเวทีร้องเรียน เมื่อได้รับความกดดันทางการค้า
กลุ่มผู้ส่งออกน้ำมันเป็นสินค้าออกOPEC ตั้งขึ้นเมื่อ มกราคม 2503 ประเทศอิหร่าน อิรัก คูเวด ซาอุดิอาระเบีย และ เวเนซูเอลา
กลุ่มผู้ส่งออกน้ำมันเป็นสินค้าออกOPEC ปัจจุบันมีสมาชิก 11 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต่อมาย้ายมาอยู่ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
วัตถุประสงค์OPEC 1. เจรจาจัดตั้งกองทุนน้ำมันดิบแก่สมาชิก 2. ปกป้องราคาน้ำมันตกต่ำและเจรจาขายน้ำมันดิบ 3. เก็บภาษีเงินได้จากบริษัทผู้ผลิตน้ำมันในอัตราสูง 4. มีอำนาจในการประกาศเพิ่มราคาน้ำมัน
ความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPECความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPEC 1. ด้านการค้าไทยนำเข้าน้ำมัน และสินค้าออกคือ ข้าวโพด ข้าว เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องหนัง
ความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPECความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPEC 2. ด้านแรงงานไทยจัดส่งแรงงานเข้าไปทำงานในกลุ่มโอเปค ลิเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คูเวต
ความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPECความสัมพันธ์ของไทยกับกลุ่มOPEC 3. ด้านการเมืองสร้างความสัมพันธ์ทางการทูตและเยี่ยมเยือนเพื่อกระชับความสัมพันธไมตรี 4. อื่น ๆ ให้ความช่วยเหลือในเรื่องเงินกู้ เช่นการศึกษาดูงานในไทย โดยเฉพาะด้านการเกษตร
การก่อตั้งกลุ่มASEAN ประเทศผู้ก่อตั้ง คือ ไทย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย พ.ศ. 2510 ปัจจุบัน มีสมาชิก 10 ประเทศ บรูไนฯ เวียดนาม พม่า ลาว และกัมพูชา
วัตถุประสงค์กลุ่มASEAN 1. ช่วยเหลือในการพัฒนาความเจริญด้านเศรษฐกิจ ทางสังคม และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก
วัตถุประสงค์กลุ่มASEAN 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง ให้แก่สมาชิก
วัตถุประสงค์กลุ่มASEAN 3.ส่งเสริมด้านการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การค้า คมนาคม 4. ช่วยเหลือด้านการศึกษา อาชีพ วิทยาการ และการบริหาร
ไทยกับกลุ่มASEAN 1. ด้านการค้า ได้รับสิทธิพิเศษยกเว้นภาษีที่ไทย ส่งไปขายกับประเทศสมาชิก 2. ด้านอุตสาหกรรม ไทยผลิตเกลือหินและ โซดาแอซ อินโดนีเซีย-มาเลเซีย ผลิตปุ๋ยยูเรีย สิงค์โปร์ ผลิตเครื่องยนต์ดีเซล ฟิลิปปินส์ ผลิตปุ๋ยฟอสเฟต
ไทยกับกลุ่มASEAN 3. ด้านการคลัง ธนาคารตั้งตลาดตั๋วแลกเงิน บริษัทประกันภัยอาเซียน 4. ด้านการเกษตร โครงการอาหารสำรอง ด่านกักสัตว์-โรคพืช และตลาดศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้
ไทยกับกลุ่มASEAN 5. ด้านการขนส่ง คมนาคม การเดินเรือ การบินพลเรือน
ไทยกับกลุ่มASEAN 6. ด้านการเมือง และวัฒนธรรม ปัญหาผู้อพยพ และโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างสมาชิก
การก่อตั้งกลุ่มAFTA บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย ปี 2535 ณ ประเทศสิงคโปร์
การก่อตั้งกลุ่มAFTA เนื่องจาก การค้าขาย และขาดดุลการค้า กับประเทศญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา ทำให้ประเทศต่างๆ คาดว่าจะทำให้ประสบภาวะฝืดเคืองและเศรษฐกิจถดถอย จึงรวมตัวกันจัดตั้ง AFTA
วัตถุประสงค์ กลุ่มAFTA 1. ขายสินค้าอย่างเสรี มีอัตราภาษีต่ำ ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า 2. ดึงดูดนักลงทุนต่างชาติให้มาลงทุนในอาเซียน 3. มีอำนาจต่อรอง และเป็นเวทีแสดงความคิดเห็นของสมาชิก ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ
ผลการดำเนินงาน กลุ่มAFTA 1. สินค้าลดอัตราภาษีศุลการกร เหลือร้อยละ 0.5 2. สินค้าเร่งลดภาษี ซีเมนต์ ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์หนัง เยื่อกระดาษ สิ่งทอ อัญมนี เครื่องประดับ เครื่องไฟฟ้า น้ำมันพืช เคมีภัณฑ์ พลาสติก ยาง เซรามิก แก้ว แคโทดที่ทำจากทองแดง
ไทยกับกลุ่มAFTA 1. ในฐานะสมาชิกที่มีมูลค่าการค้าสูง และได้เปรียบดุลการค้า 2. สินค้าที่สำคัญ เครื่องคอมพิวเตอร์(ส่วนประกอบ) ข้าว แผงวงจรไฟฟ้า น้ำตาลทราย น้ำมันสำเร็จรูป
การจัดตั้งNAFTA ข้อตกลงการค้าเสรีอเมิรกาเหนือ หรือ นาฟตา เพื่อแก้ปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอย โดยเปิดตลาดเสรีเป็นตลาดเดียวและลดอัตราภาษีศุลกากรให้เหลือร้อยละ 0 ภายใน 5 ปี โดยเริ่มดำเนินการ เมื่อ 1 มกราคม 2537
การจัดตั้งNAFTA สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก