1 / 72

278206 Application of Software Package in Office

278206 Application of Software Package in Office. การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ ( ต่อ ) (Spread Sheet). อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th. การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel. โครงสร้างของฟังก์ชัน = ชื่อฟังก์ชัน(ค่า argument1, ค่า argument2,… )

Download Presentation

278206 Application of Software Package in Office

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 278206Application of Software Package in Office การใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณ (ต่อ) (Spread Sheet) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

  2. การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel • โครงสร้างของฟังก์ชัน =ชื่อฟังก์ชัน(ค่าargument1,ค่าargument2,…) • สำหรับการป้อนค่า argument เราต้องทราบก่อนว่าฟังก์ชันนั้นรับค่า argument แบบใดบ้าง • อาจใส่ข้อมูลตัวเลขเข้าไปโดยตรง เช่น =SUM(1700,9800,7200)เพื่อให้หาผลรวม • หรืออาจกำหนดให้ฟังก์ชันอ้างอิงค่าในเซลล์ก็ได้ เช่น =SUM(E4:E7) • สำหรับการใช้ฟังก์ชันบางประเภทเราอาจต้องป้อนค่า argument ที่เป็นข้อความ เวลา หรือ วันที่โดยจะอยู่ภายในเครื่องหมาย “” เสมอ

  3. ฟังก์ชัน IF Function IF เป็นคำสั่งในเพื่อใช้ในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทำการตรวจสอบค่าในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็นจริง หรือไม่รูปแบบ logical_testหมายถึง เงื่อนไขเพื่อทำการตรวจสอบค่า value_if_trueหมายถึง ค่าที่ใช้สำหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง value_if_falseหมายถึง ค่าที่ใช้สำหรับแสดงผล เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ

  4. ตัวอย่างการใช้งาน Function if ใน Microsoft Excel 2007

  5. กรณีมีหลายเงื่อนไข

  6. ฟังก์ชันการหาผลรวม Function คือ Function ในการหาผลรวมของข้อมูล ปกตินิยมใช้ ฟังชั่น Sum กรณีที่ต้องหาผลรวมแบบมีเงื่อนไขสามารถใช้ฟังชั่นอื่นได้เช่น SumifหรือSumproduct

  7. เครื่องหมายในการเปรียบเทียบเครื่องหมายในการเปรียบเทียบ < น้อยกว่า ใช้กับ น้อยกว่า,ไม่ถึง,ต่ำกว่า,ก่อน> มากกว่า ใช้กับ มากกว่า,หลัง<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ ใช้กับ ไม่เกิน >= มากกว่าหรือเท่ากับ ใช้กับ ตั้งแต่...ขึ้นไป= เท่ากับ ใช้กับ เท่ากัน,เป็น,คือ<> ไม่เท่ากับ ใช้กับ ไม่เท่ากัน,ไม่ใช่,ยกเว้น

  8. ฟังก์ชัน Sumif SumIFเป็นคำสั่งในหาผลรวมในการสร้างเงื่อนไข เพื่อทำการตรวจสอบค่าในเซลล์ที่เราต้องการว่าเป็นจริง หรือไม่รูปแบบ range หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรียบเทียบ criteria หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรียบเทียบกับ range Sum_rangeหมายถึง ช่วงของข้อมูลที่ใช้ในการรวมเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง

  9. ตัวอย่างการใช้งาน Function Sumif ใน Microsoft Excel 2007 ตัวอย่างการหาผลรวมยอดขายแต่ละประเภทสินค้า

  10. ฟังก์ชัน Sumproduct Sumproduct เป็นสูตรที่ใช้สำหรับ การหาผลคูณของคอลัมน์ตั้งแต่ 2 คอลัมน์ขึ้นไป และเอาผลที่ได้จากการคูณนั้น มารวมกัน รูปแบบ array1หมายถึง ช่วงข้อมูล1 array2 หมายถึง ช่วงข้อมูล2 array3หมายถึง ช่วงข้อมูล3

  11. ตัวอย่างการใช้งาน FunctionSumproduct ใน Microsoft Excel 2007

  12. กรณีมีหลายเงื่อนไข

  13. ฟังก์ชันการนับ Function • Function ในการนับจำนวนเซลล์ ใช้ในการนับจำนวนเซลล์ภายในพื้นที่ที่กำหนดภายใต้เงื่อนไขใดๆ • เช่น • COUNT • COUNTA • COUNTBLANK • และ COUNTIF

  14. ฟังก์ชัน Countif • Countifเป็นคำสั่งในนับจำนวนของเซลล์ภายในช่วงที่ตรงตามเงื่อนไขที่คุณระบุ • รูปแบบ • range หมายถึง ช่วงข้อมูลที่ใช้ในการเปรียบเทียบ • criteria หมายถึง เงื่อนไขที่ใช้ในการเปรียบเทียบกับ range

  15. ตัวอย่างการใช้งาน Function Countif ใน Microsoft Excel 2007 ตัวอย่างการนับพนักงานที่มีเงินเดือนน้อยกว่า 10000

  16. กรณีมีหลายเงื่อนไข

  17. ฟังก์ชัน COUNTA/ COUNTBLANK • COUNTA • เป็นคำสั่งนับจำนวนของเซลล์ที่ไม่ว่างภายในช่วงที่ระบุ • COUNTBLANK • เป็นคำสั่งนับจำนวนของเซลล์ที่ว่างภายในช่วงที่ระบุ

  18. ฟังก์ชันค้นหา Function • ฟังก์ชันการค้นหา (LOOKUP) ใช้ในการค้นหาข้อมูล • ประกอบด้วย ค่าที่ต้องการค้นหา ช่วงของข้อมูลที่จะค้นหาและเงื่อนไขอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับรูปแบบของฟังก์ชัน • เช่น • VLOOKUP • HLOOKUP

  19. ฟังก์ชัน Vlookup • Vlookup ใช้สำหรับหาค่าในตารางข้อมูลแนวตั้ง • โดยหาค่า (ที่เหมือน หรือ ใกล้เคียง) จากคอลัมน์แรกของตาราง • และคืนค่าเป็นข้อมูลที่อยู่ในแถวเดียวกัน จากคอลัมน์ที่ระบุลงไปใน Argument ของฟังก์ชั่น • V ย่อมาจาก Vertical ซึ่ง VLOOKUP จะใช้กับตารางข้อมูลแนวตั้ง • เป็นลักษณะของตารางที่ใช้กันตามปกติ  • โดยคอลัมน์ที่ต้องการเอารหัสไปเปรียบเทียบต้องอยู่ด้านซ้ายสุดของตารางหรือพื้นที่ของตารางที่เลือก

  20. รูปแบบ - Lookup_valueเป็นค่าที่ต้องการหา สามารถเป็นได้ทั้ง ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเซลล์อ้างอิง โดยตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่มีค่าเหมือนกัน (Non-case-sensitive)- Table_arrayเป็นตารางที่เราต้องการไปหาค่า อาจเป็นช่วงเซลล์ หรือ Range Name ก็ได้ โดยคอลัมน์แรกของตารางต้องเป็นเลขรหัสที่ต้องการให้ Lookup_value มาเทียบค่า Table_array- Col_index_numเป็นเลขลำดับคอลัมน์ของตาราง (Table_array) ซึ่งเป็นคอลัมน์ที่ต้องการให้ดึงค่ามา- Range_lookupถ้าเป็น TRUE หรือละไว้ จะเอาค่าที่ใกล้เคียงมา ถ้าเป็น FALSE หรือ 0 จะนำค่าที่ตรงกันมา)

  21. ตัวอย่างการใช้งาน Vlookup ใน Microsoft Excel 2007 ตัวอย่างการหา VLOOKUP แบบตรงตัว (Exact Match)

  22. แบบค่าเป็นช่วง (Approximate Match) จะใช้หาค่าที่ตกอยู่ในช่วง เช่น การคำนวณเกรด หรือภาษี โดยดูเงินได้เทียบกับช่วงของอัตราภาษีระดับต่างๆ โดยจะละเงื่อนไขใน Range_lookupหรือจะใส่เป็น TRUE ก็ได้ - การใช้งาน VLOOKUP แบบนี้จะใช้กับหาค่าที่เป็นช่วง เช่น การตัดเกรด หรือ การคำนวณช่วงอัตราภาษี - การใช้ฟังก์ชั่น VLOOKUP แบบนี้ ค่าในคอลัมน์แรกต้องเรียงตามลำดับจากน้อยไปมาก - ฟังก์ชั่น VLOOKUP จะไปหาค่าที่เหมือนกันก่อน ถ้าไม่เจอก็จะไปหาค่าที่มากที่สุด แต่น้อยกว่าค่าที่ต้องการหา แล้วก็จะไปนำค่าของคอลัมน์ที่เราต้องการมาแสดง

  23. ฟังก์ชัน Vlookup แบบค่าเป็นช่วง (Approximate Match)

  24. ตัวอย่างการใช้งาน Vlookup ใน Microsoft Excel 2007 ตัวอย่างการหา VLOOKUP แบบค่าเป็นช่วง (Approximate Match)

  25. ฟังก์ชัน HLOOKUP • HLOOKUP ใช้สำหรับหาค่าในตารางข้อมูลแนวนอน • โดยหาค่าที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงจากแถวบนสุดของตาราง • และคืนค่าเป็นข้อมูลที่อยู่ในคอลัมน์เดียวกันจากแถวที่ระบุ • H ย่อมาจาก Horizontal • มีลักษณะโครงสร้างสูตรเหมือนกับ VLOOKUP แต่ตารางที่ใช้อ้างอิงจะเป็นตารางแนวนอน • ไม่ค่อยได้ใช้เนื่องจากตารางส่วนใหญ่เป็นตารางข้อมูลในแนวตั้ง

  26. รูปแบบ -Lookup_valueเป็นค่าที่ต้องการหา สามารถเป็นได้ทั้ง ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเซลล์อ้างอิง โดยตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่มีค่าเหมือนกัน (Non-case-sensitive)- Table_arrayเป็นตารางที่เราต้องการไปหาค่า อาจเป็นช่วงเซลล์ หรือ Range Name ก็ได้ โดยแถวแรกของตารางต้องเป็นเลขรหัสที่ต้องการให้ Lookup_valueมาเทียบค่า Table_array- Row_index_numเป็นเลขลำดับแถวของตาราง (Table_array) ซึ่งเป็นแถวที่ต้องการให้ดึงค่ามา- Range_lookupถ้าเป็น TRUE หรือละไว้ จะเอาค่าที่ใกล้เคียงมา ถ้าเป็น FALSE หรือ 0 จะนำค่าที่ตรงกันมา

  27. ตัวอย่างการใช้งาน Hlookup ตัวอย่างการหา HLOOKUP(ไม่เป็นที่นิยมใช้กันเท่าไรนัก)

  28. ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการเงิน • PMT ช่วยในการคิดคำนวณเงินผ่อนชำระ • FV คำนวณมูลค่าในอนาคตของการลงทุน • NPER คำนวณจำนวนงวดทั้งหมดในการผ่อนชำระสำหรับการลงทุน • PV คำนวณมูลค่าปัจจุบันของการลงทุน • ฯลฯ Function

  29. ฟังก์ชัน PMT • Function PMT ช่วยในการคิดคำนวณเงินผ่อนชำระ • สำหรับการคำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องผ่อนชำระคืนในแต่ละงวด • เช่น กรณีเรากู้เงินจากธนาคารมาเพื่อซื้อบ้าน • ฟังก์ชันนี้จะคำนวณจำนวนเงินที่เราต้องผ่อนธนาคารในแต่ละเดือน Function

  30. ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการเงิน ฟังก์ชันที่เกี่ยวกับการเงิน Function • รูปแบบ • - Rate อัตราดอกเบี้ยต่อเดือน (ถ้ากำหนดเป็นต่อปีต้องเอา 12 ไปหาร) • - Nperจำนวนเดือนในการผ่อนชำระ (ถ้ากำหนดเป็นรายปี ต้องเอา 12 ไปคูณ) • - Pvจำนวนเงินที่กู้มาจากธนาคาร • - Fv มูลค่าอนาคตของเงินกู้ หรือจำนวนเงินที่ต้องการให้คงเหลือหลังจากชำระงวดสุดท้าย ถ้าไม่ใส่จะถือว่าเป็น 0 • - Type ตัวเลขระบุวันครบกำหนดชำระเงิน 0 คือ ชำระเมื่อสิ้นงวด 1 คือชำระเงินเมื่อต้นงวด ถ้าไม่ใช่จะถือว่าเป็น 0

  31. ตัวอย่างการใช้งาน PMT *** ผลลัพธ์ที่ได้จะติดลบ แสดงถึงเงินที่เราต้องจ่ายออกไป *** เวลาใช้งานจริง นิยมใส่เงินต้นในสูตรเป็นค่าติดลบแทน เพื่อทำให้ผลลัพธ์เป็นบวก

  32. ตัวอย่างการใช้งาน PMT

  33. ฟังก์ชัน Upper • ใช้ในการแปลงสายอักขระข้อความให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด • รูปแบบ =upper()

  34. ฟังก์ชัน BAHTTEXT • แปลงค่าตัวเลขให้เป็นตัวอักษรแสดงจำนวนเงินในภาษาไทย • และเพิ่มต่อคำท้ายว่า “บาท” • รูปแบบ BAHTTEXT(จำนวน) • จำนวน   คือตัวเลขที่ต้องการแปลงเป็นข้อความ หรือจะเป็นการอ้างอิงไปยังเซลล์ที่มีตัวเลขอยู่ หรือเป็นสูตรที่ได้ประเมินค่าออกมาเป็นตัวเลขก็ได้

  35. การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ในการแสดงค่าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ที่ต้องการการกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ในการแสดงค่าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ที่ต้องการ • การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ เพื่อให้เซลล์นั้นรับข้อมูลที่ถูกต้องตามชนิดของข้อมูลและทำให้การแสดงผลทางหน้าจอมีความถูกต้องเหมาะสมตามที่ต้องการ มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้ • ทำการ Drag เลือกกลุ่มเซลล์ที่ต้องการ หรือคลิกเซลล์ที่ต้องการเพื่อให้เกิดกรอบสี่เหลี่ยมเข้มล้อมรอบเซลล์ที่ต้องการ • คลิกเมนู Format -> Cells จะเกิด Format Cells Dialog ดังรูป

  36. การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ในการแสดงค่าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ที่ต้องการการกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ในการแสดงค่าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ที่ต้องการ จาก Format Cells Dialog สามารถกำหนดคุณสมบัติเฉพาะให้กับเซลล์ในการแสดงค่าหรือทั้งกลุ่มของเซลล์ ได้ดังนี้ • การปรับคุณสมบัติในการแสดงตัวเลขให้เป็นแบบต่างๆ • การปรับคุณสมบัติในการจัดรูปแบบของข้อมูลในเซลล์ • การปรับคุณสมบัติของตัวอักษรที่แสดงในเซลล์ • ปรับคุณสมบัติของเซลล์ กำหนดกรอบ (Border) ให้แก่เซลล์ • การปรับคุณสมบัติของเซลล์ กำหนดสีพื้นให้แก่เซลล์

  37. การปรับคุณสมบัติในการแสดงตัวเลขให้เป็นแบบต่างๆการปรับคุณสมบัติในการแสดงตัวเลขให้เป็นแบบต่างๆ • คลิกเมนูย่อย Number • ในส่วน Category เลือกรูปแบบการแสดงตัวเลขต่างๆ มีดังนี้

  38. สำหรับการกำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลประเภทตัวเลข เราสามารถกำหนดได้จาก Formatting Toolbar • แสดงเครื่องหมายสกุลเงินนำหน้า • แปลงค่าตัวเลขให้เป็น % • แสดงเครื่องหมาย , คั่นตัวเลขที่เลือกทุกๆ 3 หลัก และมีทศนิยม 2 ตำแหน่ง • เพิ่มจำนวนหลักทศนิยม 1 หลัก • ลดจำนวนหลักทศนิยม 1 หลัก

  39. การกำหนดรูปแบบตัวเลข • มีหลายรูปแบบ เช่น ทั่วไป ตัวเลข บัญชี หรือ กำหนดเอง • กำหนดเอง จะเห็นรูปแบบตัวเลขแสดงด้วยเครื่องหมาย ดังนี้ • # แทนตัวเลข เช่น #,### • 0 แทนเลขศูนย์ • _ เพิ่มช่องว่าง ถ้าใส่เป็น _) ค่าบวกจะเรียงตรงอยู่ในแถวเดียวกันกับค่าลบ • ; คั่นค่าบวก และค่าลบ • $ แสดงสกุลเงิน • และสามารถกำหนดสีให้กับการแสดงผลของตัวเลขได้ เช่น [แดง]

  40. การกำหนดรูปแบบตัวเลข • เช่น [Blue]#,##0.00; [Red](#,##0.00) หมายถึง • ค่าบวก จะแสดง , เมื่อมีตัวเลขหลักพันขึ้นไป • ถ้าไม่มีตัวเลขใดๆใน cell หรือ range จะแสดง 0.00 • ค่าทั้งหมดจะแสดงด้วยตัวอักษรสีน้ำเงิน • ค่าลบ จะแสดง , เมื่อมีตัวเลขหลักพันขึ้นไป • ถ้าไม่มีตัวเลขใดๆใน cell หรือ range จะแสดง 0.00 • ค่าทั้งหมดจะแสดงอยู่ภายในวงเล็บเล็ก และมีตัวอักษรเป็นสีเป็นแดง

  41. การกำหนดเงื่อนไขให้รูปแบบตัวเลขการกำหนดเงื่อนไขให้รูปแบบตัวเลข • ทำได้โดยใส่เงื่อนไขไว้ในวงเล็บ [ ] เช่น • กำหนดให้จำนวนมากกว่า 5000 ใช้ตัวอักษรสีเขียว จำนวนต่ำกว่าหรือเท่ากับ 5000 ใช้ตัวอักษรสีแดง • จะได้เป็น [เขียว][>5000];[แดง][<=5000]

  42. การจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไขการจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข

  43. การจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไขการจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข

  44. การจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไขการจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข

  45. การจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไขการจัดรูปแบบข้อมูลตามเงื่อนไข

  46. การเปลี่ยนเงื่อนไขหรือรูปแบบที่กำหนดการเปลี่ยนเงื่อนไขหรือรูปแบบที่กำหนด

  47. การเปลี่ยนเงื่อนไขหรือรูปแบบที่กำหนดการเปลี่ยนเงื่อนไขหรือรูปแบบที่กำหนด

More Related