410 likes | 490 Views
I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี. I-MS ระบบการบริหารสารสนเทศ. เปรียบเทียบระบบการบริหารสารสนเทศ กับ สมรรถนะการพัฒนาระบบอัตโนมัติ (ADP/VIRTUAL) แบบ CMM ขององค์กร เพราะการพัฒนาซอฟต์แวร์ SE เป็นหัวใจการจัดทำองค์กรให้มี สมรรถนะ ADP/VIRTUAL.
E N D
I-MS: Information Management Systems ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี
I-MS ระบบการบริหารสารสนเทศ
เปรียบเทียบระบบการบริหารสารสนเทศ กับ สมรรถนะการพัฒนาระบบอัตโนมัติ(ADP/VIRTUAL) แบบ CMM ขององค์กรเพราะการพัฒนาซอฟต์แวร์ SE เป็นหัวใจการจัดทำองค์กรให้มี สมรรถนะ ADP/VIRTUAL • CMM ย่อมาจาก Capability Maturity Modelเป็นต้นแบบของการวัดวุฒิภาวะความสามารถในการทำงาน ที่ทางสถาบัน Software Engineering Institute (SEI) แห่งมหาวิทยาลัย คาร์เนกี เมลลอน ในสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาขึ้น ให้แก่กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา • หลักการของ CMM ก็คือ ความสำเร็จในการทำงานใดๆ ในอนาคตขององค์กรหรือหน่วยงาน ขึ้นอยู่กับระดับวุฒิภาวะความสามารถ ในการทำงานขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น ในทำนองเดียวกัน วุฒิภาวะความสามารถขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น ก็ขึ้นอยู่กับผลการทำงานในอดีตขององค์กรหรือหน่วยงานนั้น • SEI CMM-I ห้าระดับ • ระดับแรก (Initial level) Know-WHY/Tacit KM / Implicitคือ การทำงานแบบไม่เป็นระบบ การทำงานต้องพึ่งผู้ที่มีประสบการณ์มีภูมิปัญญา เป็นหลัก • ระดับที่สอง (Repeatable level) Know-HOW/ Explicit คือการทำงานเป็นระบบ มีการนำหลักการจัดการโครงการมาใช้ในการบริหารงานของแต่ละโครงการ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ • ระดับที่สาม (Defined Level)คือหน่วยงานได้จัดทำมาตรฐานการทำงานของหน่วยงานขึ้น โดยการพิจารณาปรับปรุงจากการดำเนินงานในระดับที่สอง ในระดับนี้การทำงานจะมีมาตรฐาน สามารถวัดและจัดเก็บสถิติผลการดำเนินงานเอาไว้ได้ • ระดับที่สี่ (Managed Level)คือการนำเอาสถิติการดำเนินงานที่จัดเก็บไว้มาวิเคราะห์ เพื่อหาจุดบกพร่อง และแก้ไขไม่ให้มีข้อบกพร่องได้ • ระดับที่ห้า (Optimizing level)คือระดับวุฒิภาวะสูงสุด หน่วยงานดำเนินการปรับปรุง กระบวนการทำงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการจัดกระบวนการทำงานใหม่ ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น และมีการป้องกันไม่ให้ข้อบกพร่องเกิดขึ้น • ควรเพิ่ม CMMI • องค์กรที่จะเป็น BPOเข้ารับประมูลงานซอฟต์แวร์ได้ จะต้องมีวุฒิภาวะความสามารถ CMM ระดับที่ 3 เป็นอย่างน้อย
เงื่อนไข ของ CMM ขององค์กร • ได้รับการกำหนดขึ้นอย่างชัดเจน (Defined) • ได้เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (Documented) • ได้นำไปจัดฝึกอบรมให้ใช้กันทั้งหน่วยงาน (Trained) • ได้นำไปปฏิบัติจริง (Practices) • ได้รับการสนับสนุน (Supported) • ได้รับการบำรุงรักษา (Maintained) • ได้รับการควบคุม (Controlled) • ได้รับการตรวจสอบ (Verified) • ได้รับการสอบยันว่าใช้การได้ (Validated) • มีการวัดผล (Measured) และสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ • หัวใจของ CMM ระดับ 2 อยู่ที่ไหน • CMM ระดับ 2 มี KPA ที่จะต้องทำให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ CMM อยู่ด้วยกัน 6 เรื่อง คือ • Requirements Management • Software Project Planning • Software Project Tracking and Control • Software Subcontract Management • Software Quality Assurance การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ยากที่สุด • Software Configuration Management
Table 1: Six stages of data processing growth Table 1: Six stages of data processing growth Table 1: Six stages of data processing growth
ระบบการบริหารสารสนเทศหรือ การบริหารเชิงระบบข้อมูล (I-MS) ที่ดี • การกระจายอำนาจศูนย์การจัดการ(กระจาย Decentralization/เกลี่ยDistributed) ตามใจฉัน(Operational management consolidation) • Procedure: การใช้สารสนเทศให้บริการเฉพาะงานที่รับผิดชอบได้ เป็นงานหลักชัดเจน(Core focused) • สามารถเลือกการจัดการทางเลือกได้หลายทางด้วยตนเอง • สร้างความรับผิดชอบ และบทบาทหน้าที่ของตัวเองได้มาก(Accountability & Responsibility) • มีความอิสระในการกำหนดระเบียบตัวเอง • PW: ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะองค์กรมี ทั่วไปทุกหน่วยงานสังกัด และการภูมิฟักผู้ชำนาญการ/เลี้ยงต้อยได้มาก (Foster) • การรวมศูนย์อำนาจการจัดการ(Centralization) อยู่ในกฏกติกา(systems development & management) • PW: สามารถมีผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาสารสนเทศ และสำรองระบบการจัดการผลสำเร็จได้มาก • Cost: การขยายจุดคุ้มทุนเชิงปริมาณได้มาก (Economic of scale) • Procedure: การวางแผนระยะยาว ต่อเนื่องมีมาก กำหนดมาตรฐานลดความซ้ำซ้อน ได้ง่าย และมีอิสระ • HW/SW/Network: การจัดการบูรณาการควบคุมและรวมศูนย์การทำงานด้านเทคนิคได้ดีมาก
I-MS ระบบการบริหาร จัดการสารสนเทศที่ดี
I-MS ระบบบริหารสารสนเทศ หรือการบริหารเชิงระบบข้อมูล (Information Systems Management) • 1974 Nolan and1979 Gibson อธิบายระบบสารสนเทศมีวิวัฒนาการโดยระบบสารสนเทศขององค์กร (Organization as Information Processor) มีการพัฒนาการ 6 ขั้นตอน:- • 1950 Stage 1 Initiation คอมพิวเตอร์เกิดขึ้น EDPS และ Programmers เกิด • Stage 2 Contagion • Stage 3 Control • Stage 4 Integration • Stage 5 Data Administration • Stage 6 Maturity