180 likes | 277 Views
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555. ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ.
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ
รูปแบบของศูนย์บริการร่วมรูปแบบของศูนย์บริการร่วม ประเภทงานบริการ: ข้อมูล/ข่าวสาร, รับเรื่องส่งต่อ, เบ็ดเสร็จ ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน
แนวทางการประเมินผล (ต่อ)
ตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • รอบระยะเวลามาตรฐานการให้บริการ หมายถึง ระยะเวลาให้บริการที่จังหวัดลดได้มากกว่าร้อยละ 30 และ/หรือระยะเวลาที่สามารถดำเนินการได้จริง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • กระบวนงานที่นำมาประเมินผล 1) งานบริการที่ลดรอบระยะเวลาได้ตั้งแต่ร้อยละ 30 ขึ้นไป และ/หรือ 2) งานบริการที่เกิดขึ้นจากมีการเปลี่ยนแปลงบทบาท ภารกิจ หน้าที่ของหน่วยงานในจังหวัด
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • คัดเลือกงานบริการ จำนวนไม่น้อยกว่า 20 กระบวนงาน จากไม่น้อยกว่า 10 หน่วยงาน โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 1) กระบวนงานที่ ไม่ซ้ำ กับปี 2552, 2553 และ 2554 หรือ 2) หากเป็นงานบริการ ซ้ำ กับปี 2552, 2553 และ 2554 ต้อง เป็นกระบวนงานที่มีระยะเวลาการให้บริการที่เร็วกว่าระยะเวลาเดิม 3) ต้องคัดเลือกงานบริการที่ มีผู้มารับบริการ ทั้งนี้ จะไม่รับพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลงใดทั้งการขอยกเว้นการประเมินหากไม่มีผู้มารับบริการ การขอเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) สูตรการคำนวณ เกณฑ์การให้คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • เงื่อนไข: 1. แจ้งกระบวนงานที่คัดเลือก ให้ สกพร. ทราบ โดยใช้แบบฟอร์มที่ 1 ภายในวันที่ 31 มกราคม 2555 กระบวนงานที่คัดเลือก ควรผ่านการวิเคราะห์ว่าเมื่อสิ้นรอบการประเมินต้องมีผู้รับบริการ หากไม่มีผู้รับบริการจะไม่รับพิจารณาแก้ไข หรือเปลี่ยนแปลงกระบวนงาน 2. ระบุน้ำหนักให้แต่ละกระบวนงานที่คัดเลือกตามลำดับความสำคัญของกระบวนงาน หากไม่ระบุน้ำหนัก ให้ถือว่าทุกกระบวนงานมีน้ำหนักเท่ากัน 3. กระบวนงานที่มีสาขาให้รักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการให้ครบทุกสาขา 4. ประกาศขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการในแต่ละกระบวนงานที่เป็นรอบระยะเวลามาตรฐานให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการ : - กรณีมีผู้มารับบริการเฉพาะช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น การชำระภาษีรายได้บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นงานบริการที่ให้บริการเพียงระยะเวลา 1-2 เดือนต่อปี เป็นต้น ให้เก็บข้อมูลอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ โดยวิธีการสุ่ม และไม่น้อยกว่า 30 รายต่อวัน (หากมีผู้รับบริการจำนวนมาก) หรือตามความเหมาะสมกับลักษณะงานบริการ - กรณีมีผู้มารับบริการต่อวันจำนวนมากให้จัดเก็บข้อมูลตามวันในปฏิทิน โดยเก็บข้อมูลไม่น้อยกว่า 30 รายต่อวัน หากไม่ถึง 30 รายต่อวัน ให้เก็บข้อมูลทุกราย - กรณีมีผู้รับบริการต่อปีจำนวนน้อยมากให้เก็บทุกรายตลอด 9 เดือน - พิจารณาเก็บข้อมูลตามความเหมาะสมของลักษณะการให้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • เกณฑ์การหักคะแนน : - ไม่จัดส่งรายงานผลการคัดเลือกกระบวนงาน ไปยัง สกพร. ภายในวันที่ 31 มกราคม 2555 จะถูกปรับลด 0.1000 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้ - ไม่มีการประกาศขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการในแต่ละกระบวนงานให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน จะถูกปรับลด 0.5000 คะแนนจากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้ - ไม่สามารถแสดงทะเบียนหรือบันทึกระยะเวลาการให้บริการตามวันในปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้จัดเก็บข้อมูลได้ จะถูกปรับลด 0.5000 คะแนนจากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้ - สุ่มกระบวนงานเพื่อประเมินผล ณ สถานที่จริง และพบว่าทะเบียนหรือบันทึกระยะเวลาการให้บริการขาดความสมบูรณ์ หรือขาดความน่าเชื่อถือ จะถูกปรับลด0.2000 คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • ปฏิทินการจัดเก็บข้อมูล:
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • แบบฟอร์ม 1
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • แบบฟอร์ม 2 การจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการและระยะเวลาให้บริการรายกระบวนงาน
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • แบบฟอร์ม 3
ตัวชี้วัดที่ 8 (ต่อ) • ผู้รับผิดชอบ
ถาม-ตอบ .....ขอบคุณ..... สำนักงาน ก.พ.ร.