1 / 32

Group 5

Group 5. โดย นสพ. ธนิยะ วงศ์วาร นสพ. วีระ เทพสุวรรณ นสพ. อิสระ สังฆวะดี. 1. 2. คำถามหลัก คำถามรอง วัตถุประสงค์ การประเมินผลคะแนน ผลการประเมิน สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง ข้อเสนอแนะ. 3. 4. 5. 6. 7.

Download Presentation

Group 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Group 5 โดย นสพ. ธนิยะ วงศ์วาร นสพ. วีระ เทพสุวรรณ นสพ. อิสระ สังฆวะดี

  2. 1 2 คำถามหลัก คำถามรอง วัตถุประสงค์ การประเมินผลคะแนน ผลการประเมิน สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง ข้อเสนอแนะ 3 4 5 6 7

  3. นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรมีภาวะซึมเศร้าซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของความคิดอยากฆ่าตัวตายเป็นอย่างไร?นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรมีภาวะซึมเศร้าซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของความคิดอยากฆ่าตัวตายเป็นอย่างไร? คำถามหลัก

  4. คำถามรอง 1. มีความแตกต่างระหว่างระดับภาวะซึมเศร้าของนิสิตชายและนิสิตหญิงหรือไม่ ? 2. อายุที่มีระดับของภาวะซึมเศร้าสูงที่สุดคือ เท่าไร และระดับความซึมเศร้าในอายุแต่ละปีเป็นเท่าไร

  5. คำถามรอง 3.ระหว่างนิสิตที่อาศัยอยู่ในจ.พิษณุโลกกับนิสิตที่มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัดมีระดับภาวะซึมเศร้าเป็นอย่างไร

  6. ทบทวนวรรณกรรม • 1.จากหนังสือ Synopsisกล่าวไว้ในเรื่องของ Mood disorder and suicideว่า • “Suicidal ideation gestures attempts frequently are associated with depressive disorder, and this suicidal phenomena, particularly in adolescent, are a growing public mental health or suicidal all age group and with greatest frequency when the depression disorder is severe”

  7. 2.มาโนช เหล่าตระกูล กล่าวไว้ในแนวโน้มการฆ่าตัวตายในประเทศไทย ในแง่เพศและวัย • “ในช่วงปี 2535 – 2539 เพศชายมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงขึ้นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะช่วงวัย 20-24 ปี ( 21.7% ต่อแสนประชากรในปี 2539 ) เพศหญิงพบว่า การฆ่าตัวตายสูงในช่วงอายุ 15-19 ปี (6.6 ต่อแสนประชากรในปี2539)” • 3.นพ.ประเวช ตันติพิพัฒนสกุล และดร.ทพ.สุรสิงห์ วิศรุตรัตน์ กล่าวไว้ในหนังสือการฆ่าตัวตาย เรื่องการสอบสวนหาสาเหตุและการป้องกันว่า • “พบว่าการฆ่าตัวตายในต่างประเทศและประเทศไทยมีช่วงอายุการเกิดที่ต่างกันโดยจะพบว่าในต่างประเทศผู้ที่ฆ่าตัวตายส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุแต่ในประเทศไทยกลับพบว่าผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายและฆ่าตัวตายสำเร็จอยู่ในช่วงอายุ20-24ปี”

  8. 4. จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณและวิสุทธิ์ กิตติวัฒน์ ได้ทำการศึกษาการฆ่าตัวตายในกรุงเทพมหานครใน web site ของกรมสุขภาพจิต พบว่า “เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศแถบเอเชียด้วยกันประเทศไทยมีอัตราส่วนชายต่อหญิงสูงกว่าประเทศแถบเอเชียอื่น ซึ่งในการศึกษาในทางตะวันตกพบว่าพบที่พยายามฆ่าตัวตายเป็นเพศหญิงอัตราส่วนเพศหญิงต่อชาย คือ 4:1 ในแง่ของเพศและวัยพบว่าช่วงที่มีการฆ่าตัวตายสูงสุดคือ 20-34 ปี สูงสุดในช่วง 20-24 ปีและลดลงในช่วง 4-69 ปี และพบว่าเพศชายฆ่าตัวตายสูงในช่วง 20-2 ปี เพศหญิงฆ่าตัวตายสูงในช่วง 15-19 ปี” 5.จาก website ของมหิดล ในวารสารของสาเหตุของการฆ่าตัวตายและการศึกษาของ อุมาพร ตรังคสมบัติ,อรวรรณ หนูแก้ววารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย เรื่อง จิตพยาธิสภาพของวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมฆ่าตัวตาย พบว่า “ผู้ที่ฆ่าตัวตายมากกว่าครึ่งก่อนที่จะเสียชีวิตเป็นผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า”

  9. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาความคิดอยากฆ่าตัวตายโดยวัดจากระดับภาวะซึมเศร้าของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร โดย • เพื่อศึกษาถึงความชุกของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรที่เกิดภาวะซึมเศร้า • เพื่อศึกษาถึงความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายที่เกิดจากภาวะซึมเศร้าของนิสิตมหาลัยนเรศวร

  10. วิธีการศึกษา ได้ทำการศึกษาแบบ Cross-sectional study โดยการแจกแบบสอบถามภาวะซึมเศร้า จำนวน 180 ชุดให้แก่นิสิตปริญญาตรี ภาคปกติของมหาวิทยาลัยนเรศวรทุกคณะทุกชั้นปี โดยทำการแจกแบบสุ่มโดยจัดแจกใต้ตึกของแต่ละคณะรวมถึงหอสมุดกลางด้วยเพื่อหวังว่าจำนวนนิสิตที่ได้จะครอบคลุมทุกคณะ

  11. การประเมินผลคะแนน • แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองเพื่อเก็บข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย เพศ, อายุ, คณะ, ชั้นปี, ศาสนา, ภูมิลำเนาเดิม, จำนวนพี่น้อง,สถานะของผู้ปกครอง, รายรับ, สถานที่พัก, เพื่อนร่วมห้อง, ค่าใช้จ่ายรายเดือน

  12. แบบสอบถามอารมณ์เศร้าของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 20 ข้อ • เกณฑ์การให้คะแนน รวมไม่เกิน 60 คะแนน โดยแบ่งระดับคะแนนเป็นดังนี้ ก = 3 คะแนน, ข = 2 คะแนน, ค = 1 คะแนน, ง = 0 คะแนน

  13. นำคะแนนทุกข้อมารวมกันเทียบความรุนแรงตามตารางข้างล่างนี้นำคะแนนทุกข้อมารวมกันเทียบความรุนแรงตามตารางข้างล่างนี้ ความรุนแรง ค่าคะแนนรวม ไม่มีภาวะซึมเศร้า น้อยกว่า 21 ภาวะซึมเศร้าขั้นอ่อน 21 - 25 ภาวะซึมเศร้าขั้นปานกลาง 26 - 34 ภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรง 35 -40 ภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรงมาก มากกว่า 40

  14. ผลที่ได้รับ ได้รับแบบสอบถามกลับทั้ง 180 ชุดแต่พบว่าแบบสอบถามกรอกไม่สมบูรณ์ 8 ชุด และเป็นนิสิตปริญญาโทจำนวน 1 ชุด จึงเหลือแบบสอบถามสำหรับการทำวิจัยครั้งนี้ 171 ชุด

  15. ผลการประเมิน ตารางและกราฟแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตาม • เพศ • คณะ • อายุ • ชั้นปี • สถานะ • บิดามารดา • ที่พัก • ค่าใช้จ่าย • ภูมิลำเนา

  16. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตาม เพศ ระดับภาวะซึมเศร้า เพศ ไม่มี น้อย ปานกลาง รุนแรง รุนแรงมาก รวมชาย 71 2 1 1 0 75 หญิง 85 6 2 1 2 96 รวม 156 8 3 2 2 171

  17. กราฟแสดงระดับภาวะซึมเศร้า จำแนกตาม เพศ

  18. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าที่ช่วงอายุต่างๆตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าที่ช่วงอายุต่างๆ อายุ ระดับภาวะซึมเศร้า none mild mod. Severe >severe รวม 18 15 1 0 1 0 17 19 43 3 0 0 2 48 20 39 2 2 0 0 43 21 38 2 1 1 0 42 22 15 1 0 0 0 16 23 3 0 0 0 0 3 27 1 0 0 0 0 1 29 1 0 0 0 0 2 รวม 155 9 3 2 2 171

  19. ตารางเปรียบเทียบระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตาม คณะ คณะ ระดับภาวะซึมเศร้า รวม agriculture 14 0 0 0 0 14 dentistry 2 0 0 0 0 2 education 15 3 0 0 0 18 engineer 25 0 0 1 0 26 huso 7 0 0 0 0 7 med-tech 13 1 1 0 0 15 medicine 14 4 0 0 0 18 nurse 13 0 2 11 17 pharmacy 20 0 0 0 0 20 science 32 1 0 0 1 34 รวม 155 9 3 2 2 171

  20. กราฟแสดงจำนวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามในแต่ละคณะกราฟแสดงจำนวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามในแต่ละคณะ

  21. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกแบ่งตามที่พักตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกแบ่งตามที่พัก ที่อยู่ ระดับภาวะซึมเศร้า none mild mod. Severe >severe รวม มหาลัย 37 3 2 1 1 44 เอกชน 103 6 1 1 0 111 บ้าน 9 0 0 0 0 9 อื่นๆ 6 0 0 0 1 7 รวม 155 9 3 2 2 171

  22. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามชั้นปีตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามชั้นปี ระดับภาวะซึมเศร้า ชั้นปี none mild mod. Severe >severe รวม 1 30 1 0 0 2 33 2 61 6 2 0 0 69 3 24 1 1 2 0 28 4 40 1 0 0 0 41 รวม 155 9 3 2 2 171

  23. กราฟแสดงภาวะซึมเศร้าจำแนกตามชั้นปีกราฟแสดงภาวะซึมเศร้าจำแนกตามชั้นปี 2 4

  24. ตารางเปรียบเทียบระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามสถานะภาพบิดามารดาตารางเปรียบเทียบระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามสถานะภาพบิดามารดา ระดับภาวะซึมเศร้า status none mild mod. Severe >severe รวม อยู่ด้วยกัน 127 7 3 2 2 141 แยกันอยู่ 9 0 0 0 0 9 หย่าร้าง 8 2 0 0 0 10 เสียชีวิต 11 0 0 0 0 11 รวม 155 9 3 2 2 171

  25. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามค่าใช้จ่ายตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามค่าใช้จ่าย ระดับภาวะซึมเศร้า พอเพียง none mild mod. Severe >severe รวม พอ 126 5 3 1 1 136 ไม่พอ 29 4 0 1 1 35 รวม 155 9 3 2 2 171

  26. ตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามภูมิลำเนาตารางแสดงระดับภาวะซึมเศร้าจำแนกตามภูมิลำเนา ระดับภาวะซึมเศร้า ภูมิลำเนา none mild mod. severe >severe รวม พิษณุโลก 20 1 0 0 0 21 ต่างจังหวัด 135 8 3 2 2 150

  27. ภาพรวม

  28. สรุป การศึกษานี้ทำการศึกษาโดยใช้แบบทดสอบภาวะอารมณ์ซึมเศร้าของกรมสุขภาพจิตทดสอบนิสิตปริญญาตรี ภาคปกติ ของมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยการเก็บตัวอย่างแบบสุ่ม ผลการศึกษานี้ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 171 รายเป็นชาย 75 รายเป็นหญิง 96 ราย มีนิสิตอายุตั้งแต่ 18 - 29 ปี มีการกระจายของระดับภาวะซึมเศร้าแตกต่างกันแต่ที่พบว่ามีระดับภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรงมากอยู่ 2 ราย โดยมีความเหมือนกันด้านอายุ คือ อายุ 19 ปี,เรียนอยู่ชั้นปีที่ 1,มีภูมิลำเนาเป็นเด็กต่างจังหวัด และ เพศหญิงเหมือนกันส่วนข้อแตกต่างกันคือ คณะที่กำลังศึกษารายหนึ่งศึกษาอยู่คณะ พยาบาลอีกรายศึกษาอยู่คณะวิทยาศาสตร์ การศึกษานี้จะนำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนศึกษาขั้นต่อไปหรือใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนคัดกรองนิสิตที่มีภาวะอารมณ์ซึมเศร้าขั้นรุนแรงมากต่อไป

  29. วิจารณ์ผลการทดลอง การศึกษาวิจัยชิ้นนี้ใช้แบบทดสอบภาวะอารมณ์ซึมเศร้าของกรมสุขภาพจิตซึ่งมีความถูกต้องแม่นยำค่อนข้างสูงผลการทดสอบที่ได้จึงค่อนข้างน่าเชื่อถือ เพียงแต่การศึกษาชิ้นนี้ไม่ได้นำแบบทดสอบที่สอบถามถึงวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของนิสิต ว่ามีความเหมาะสมถูกต้องมากน้อยเพียงใด หรือหากจะให้เกิดผลสัมฤทธิ์มากกว่านี้น่าจะนำเอาแบบทดสอบวัด EQ (Emotional quotient) มารวมในแบบทดสอบด้วย ผลการศึกษาชิ้นนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาชิ้นต่อๆไปที่ต้องการความรู้ในด้านเดียวกัน เพียงแต่ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างน้อยเกินไปและอยู่ในช่วงใกล้สอบปลายเทอมอาจทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามให้ข้อมูลไม่ได้เต็มที่

  30. ข้อเสนอแนะ 1. แบบสอบถามการวิจัยชิ้นนี้จัดทำขึ้นเองในส่วนของข้อมูลทั่วไปและนำแบบทดสอบภาวะอารมณ์ซึมเศร้าของกรมสุขภาพจิตมารวมกัน แต่ไม่ได้ทำแบบทดสอบที่วัดถึงวิธีการแก้ปัญหาและวิธีการปรับตัวของนิสิตมาใช้วัดด้วยจึงทำให้แบบทดสอบนี้มีประโยชน์ไม่มาก

  31. 2. ผลการศึกษาชิ้นนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับทำการศึกษาต่อในระดับที่ซับซ้อนมากขึ้นโดยอาจนำไปเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวัดและคัดกรองนิสิตที่จะเข้ามาเรียนในม.นเรศวรเพื่อลดปัญหาจากภาวะซึมเศร้า

  32. The End

More Related