1 / 56

ไฟฟ้า ( Electricity)

ไฟฟ้า ( Electricity). ชุดที่ 1. เอกสารอ้างอิง. Peirce (1996) Economics of the Energy Industries บทที่ 11 เอกสารที่เกี่ยวกับกิจการไฟฟ้าใน website ของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ( www.egat.co.th). เอกสารอ้างอิง.

Download Presentation

ไฟฟ้า ( Electricity)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟฟ้า (Electricity) ชุดที่ 1

  2. เอกสารอ้างอิง • Peirce (1996) Economics of the Energy Industriesบทที่ 11 • เอกสารที่เกี่ยวกับกิจการไฟฟ้าใน website ของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. (www.egat.co.th)

  3. เอกสารอ้างอิง • เอกสารที่เกี่ยวกับกิจการไฟฟ้าใน website ของ การไฟฟ้านครหลวง หรือกฟน. (www.mea.or.th) และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. (www.pea.or.th)

  4. เอกสารอ้างอิง • ภูรี สิรสุนทร (2551) การปฏิรูปภาคการไฟฟ้าของไทย: บทวิเคราะห์และความท้าทายในอนาคต การประชุมวิชาการประจำปี คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. (Symposium) เรื่อง สถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย

  5. ลักษณะสำคัญของไฟฟ้า • ไฟฟ้าเมื่อผลิตแล้วเก็บสำรองไว้ไม่ได้ (ยกเว้นเก็บไว้ในแบตเตอรี่ได้บ้างเท่านั้น) • ไฟฟ้าเมื่อผลิตแล้วจะถูกส่งไปใช้เลยทันที

  6. พลังงาน (energy) และ พลังหรือกำลัง (power) • หน่วยวัดของพลัง (power) คือ watt 1 watt = 1 joule / 1 second มักใช้กับ “กำลังหรืออัตราการใช้ไฟฟ้า” ของเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือ ขนาดของโรงผลิตไฟฟ้า • พลังงาน = พลัง x เวลา

  7. พลังงาน (energy) และ พลังหรือกำลัง (power) ใช้หลอดไฟฟ้า 100 watt 8 ชั่วโมง: คิดเป็นหน่วยพลังงานไฟฟ้า = พลังไฟฟ้า x เวลา 100W x 8 hours = 800 Wh = 0.8 kWh “kWh” คือหน่วยไฟฟ้าที่ใช้คิดค่าไฟฟ้า

  8. โครงสร้างกิจการไฟฟ้า โรงไฟฟ้า การผลิต สายส่ง ระบบส่ง ผู้จำหน่าย ระบบจำหน่าย ผู้ใช้ไฟฟ้า ค้าปลีก ภูรี สิรสุนทร

  9. โครงสร้างกิจการไฟฟ้าของไทยในปัจจุบันโครงสร้างกิจการไฟฟ้าของไทยในปัจจุบัน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน ซื้อไฟต่างประเทศ การผลิต IPP SPP กฟผ. System Operator ระบบส่ง กฟน. กฟภ. ซื้อไฟตรง ระบบจำหน่าย ผู้ผลิต VSPP ผู้ใช้ไฟฟ้า ค้าปลีก ภูรี สิรสุนทร

  10. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant) • ใช้น้ำที่เก็บไว้ในอ่างเก็บน้ำที่เก็บไว้ในระดับสูงมาหมุนเครื่องกังหันน้ำและเครื่องกำเนิดไฟฟ้าท้ายน้ำที่อยู่ในระดับต่ำกว่า

  11. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Steam/Thermal power plant) • ใช้เครื่องกังหันไอน้ำเป็นเครื่องต้นกำลังหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า • ไอน้ำได้จากการเปลี่ยนสถานะของน้ำในหม้อน้ำเมื่อได้รับพลังความร้อนจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงในเตาเผา

  12. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Steam/Thermal power plant) • ใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิดเช่น ถ่านหิน น้ำมันเตา ก๊าซธรรมชาติ • ใช้เวลาเริ่มเดินเครื่องประมาณ 2-3 ชั่วโมง จึงเหมาะที่จะใช้เป็นโรงไฟฟ้าฐาน (Base load plant) ทำหน้าที่ผลิตไฟฟ้าตลอดเวลา • มีอายุการใช้งานประมาณ 25 ปี

  13. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ (Gas turbine power plant) • ใช้กังหันก๊าซเป็นเครื่องต้นกำลัง • ได้พลังงานจากการเผาไหม้ของส่วนผสมระหว่างก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดีเซลกับอากาศความดันสูงจากเครื่องอัดอากาศในห้องเผาไหม้เกิดเป็นไอร้อนขับดับใบกังหันไปขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

  14. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ • สามารถเดินเครื่องได้อย่างรวดเร็วเหมาะที่จะใช้เป็นโรงไฟฟ้าสำรอง ในช่วงความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peak load period) และ กรณีฉุกเฉิน • มีอายุการใช้งานประมาณ 15 ปี

  15. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined cycle power plant) • นำเทคโนโลยีของโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซและโรงไฟฟ้าไอน้ำมาใช้งานเป็นระบบร่วมกัน • นำไอเสียจากโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ ซึ่งมีความร้อนสูง (ประมาณ 500 องศาเซลเซียส) ไปผ่านหม้อน้ำ ทำให้น้ำเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับกังหันไอน้ำสำหรับผลิตไฟฟ้าต่อไป

  16. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม • มีอายุการใช้งานประมาณ 20 ปี • ใช้เป็นโรงไฟฟ้าผลิตพลังงานปานกลางถึงระดับฐาน (Medium to Base load plant)

  17. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าดีเซล (Diesel power plant) • ใช้เครื่องยนต์ดีเซลเป็นต้นกำลังไปหมุนเพลาข้อเหวี่ยงเพื่อหมุนเพลาของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า • มีขนาดเล็ก สามารถเดินเครื่องได้รวดเร็วเหมาะที่จะเป็นโรงไฟฟ้าสำรองและในกรณีฉุกเฉิน • มีต้นทุนการดำเนินงานที่สูง เพราะค่าเชื้อเพลิง

  18. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าดีเซล • สำหรับโรงไฟฟ้าดีเซลขนาดใหญ่ที่มีขนาดประมาณ 25 MW สามารถใช้ผลิตไฟฟ้าฐานได้ด้วย • มีอายุการใช้งานประมาณ 20 ปี

  19. โรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ • โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน (พลังงานหมุนเวียน) • ความร้อนใต้พิภพ • กังหันลม • พลังแสงอาทิตย์ • อื่น ๆ กล่าวถึงต่อไปในเรื่องพลังงานหมุนเวียน

  20. กิจการผลิตไฟฟ้า • แต่เดิมผู้ผลิตไฟฟ้าในประเทศไทยมีแต่เพียง “การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)” จนกระทั่งปี 2535 ได้มีการส่งเสริมให้เอกชนได้มีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้าในรูปแบบของ “ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small power producers: SPPs)” และ “ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (Independent power producers: IPPs)” ในปี 2537

  21. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ • “ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ” คือผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ ขายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. โดย กฟผ. เป็นผู้สั่งเดินเครื่องโรงไฟฟ้า และจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบไฟฟ้า

  22. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ • การคัดเลือก IPPs ใช้วิธีประมูล โดยใช้หลักเกณฑ์ => ปัจจัยทางด้านราคา และปัจจัยที่ไม่เกี่ยวกับราคา (ความเป็นไปได้ของโครงการ การเลือกใช้เชื้อเพลิง)

  23. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ • กฟผ. จ่ายให้ IPPs => Two part tariff • ค่าความพร้อมจ่าย (Availability Payment): ต้นทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าของเอกชนและค่าใช้จ่ายคงที่อื่น ๆ • ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment): ค่าเชื้อเพลิงและค่าใช้จ่ายผันแปรอื่น ๆ

  24. ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ • ปัจจุบันมี IPPs ที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบจริง 8 ราย • ส่วนใหญ่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง • สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว (Power purchase agreement) ส่วนใหญ่ 25 ปี

  25. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก • “ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก” คือโครงการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ระบบการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้าร่วมกัน หรือการผลิตฟ้าโดยใช้พลังงานหมุนเวียน • จำหน่ายไฟฟ้าให้ กฟผ. ไม่เกิน 90 MW • สามารถจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภคในบริเวณใกล้เคียงได้โดยตรง

  26. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก • ประเภทของสัญญา • แบบ Firm คือทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป และมีการจ่ายค่าพลังไฟฟ้า (Capacity Payment) => คำนวณจากค่าลงทุนของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในอนาคต (Long-run avoided capacity cost)

  27. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก • ประเภทของสัญญา • แบบ Non-firm คือทำสัญญาซื้อขายไฟฟ้าไม่เกิน 5 ปีและได้รับเฉพาะค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy payment) คำนวณจากค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ค่าดำเนินการ และค่าซ่อมบำรุงของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในระยะสั้น (Short-run avoided energy cost)

  28. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก • ปัจจุบัน รับซื้อเฉพาะพลังงานนอกรูปแบบหรือพลังงานหมุนเวียนเท่านั้น อาทิเช่นกากอ้อย แกลบ แกลบและเศษไม้ น้ำมันยางดำ ขยะ ชานอ้อย เปลือกไม้ และอื่น ๆ • และรับซื้อไฟฟ้าที่ผลิตแบบ Cogeneration ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง

  29. ปี 2007 รูปแบบสัญญาของ SPPs

  30. Cogeneration (ไอน้ำร่วมกัน) Capacity Payment Energy Payment Fuel saving (0-0.36 baht/kWh ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการประหยัดเชื้อเพลิง) พลังงานหมุนเวียน Capacity Payment Energy Payment Fuel saving (0.36 baht/kWh) Renewable Energy Promotion Adders Firm contract

  31. Cogeneration Energy Payment พลังงานหมุนเวียน ราคาไฟฟ้าขายส่ง ค่าเฉลี่ย Ft ขายส่ง Adder Non-firm contract

  32. ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก • ณ เดือนมกราคม 2551 มีSPPs อยู่ 71 ราย เป็น SPPs ที่ใช้พลังงานหมุนเวียน 41 รายพลังงานเชิงพาณิชย์ 26 ราย และ ใช้พลังงานผสม 4 ราย • ณ เดือน มกราคม 2551 สัดส่วนปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายมาจาก SPPs ที่ใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ (ก๊าซธรรมชาติ) เป็นเชื้อเพลิงสูงถึงร้อยละ 71.46 ของ SPPs ทั้งหมด พลังงานหมุนเวียนมีเพียงแค่ ร้อยละ 18.57

  33. กำลังการผลิตติดตั้ง • กฟผ., IPPs, SPPs และ นำเข้าไฟฟ้าจากลาวและมาเลเซีย • สัดส่วนกำลังการผลิตติดตั้งของ กฟผ. ค่อย ๆ ลดลง ในขณะที่กำลังการผลิตของ IPPs ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น • ปี 2549 สัดส่วนกำลังการผลิตติดตั้ง • กฟผ. (58.3%), IPPs (31.8%), SPPs (7.6%) และลาวและมาเลเซีย (2.4%)

  34. กำลังการผลิตติดตั้งรวมเพิ่มขึ้นโดยตลอดกำลังการผลิตติดตั้งรวมเพิ่มขึ้นโดยตลอด

  35. สัดส่วนกำลังการผลิตติดตั้งสัดส่วนกำลังการผลิตติดตั้ง

  36. การใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า • เชื้อเพลิงส่วนใหญ่ที่ใช้คือ ก๊าซธรรมชาติ ทั้งของ กฟผ. IPPs และ SPPs • รองลงมาคือลิกไนต์และน้ำมันเตา • มีการใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้าไม่มากนัก (จะกล่าวในส่วนต่อไป)

  37. การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า หน่วย : GWh

  38. สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

  39. สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

  40. Share of Power Generation by Fuel Type January-June 2009 Hydro Import & Others Lignite/Coal Natural Gas

  41. การผลิตไฟฟ้า • ผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 87,797 GWh ในปี 1996 เป็น 147,026 GWh ในปี 2007 • ผู้ผลิตเอกชนมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการผลิตไฟฟ้า • สัดส่วนการผลิตของ กฟผ. เหลือเพียง 47.79% ในปี 2006

  42. สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้า

  43. ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก • Very small power producers (VSPP) • เดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนานกับระบบของไฟฟ้าจำหน่ายสำหรับปริมาณพลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 10 MW สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนและผู้ผลิตไฟฟ้าแบบไอน้ำร่วม (Cogeneration) (เดิมมีแต่พลังงานหมุนเวียนและไม่เกิน 1MW) • กฟน. และ กฟภ. เป็นผู้รับซื้อ

  44. ณ เดือนเมษายน 2550 => VSPPs ที่ขอเข้าร่วมโครงการ

  45. ระบบส่งไฟฟ้า • ไฟฟ้าเมื่อผลิตแล้วจะถูกส่งผ่านระบบส่งไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อสามารถส่งกระแสไฟฟ้าไปได้ในระยะไกลและมีความสูญเสียทางไฟฟ้าต่ำกว่าระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ำ

  46. ระบบส่งไฟฟ้า • ระบบส่งไฟฟ้า => ระบบไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ปัจจุบันจ่ายด้วยระบบแรงดันไฟฟ้าขนาด 115-500 เควี (กิโลโวลต์) (1 กิโลโวลต์ =1,000 โวลต์) => สายไฟฟ้าที่อยู่ตามถนนและท้องนา • ลดแรงดันไฟฟ้าลงเป็น 69-230 เควี ส่งไฟฟ้าผ่านระบบส่งไฟฟ้าแรงสูงของ กฟน. และ กฟภ.

  47. ระบบส่งไฟฟ้า • ลดแรงดันไฟฟ้าลงผ่านระบบไฟฟ้าจำหน่าย (12-24 เควี) ของ กฟน. และ กฟภ. • ลดลงอีกผ่านระบบไฟฟ้าจำหน่ายแรงต่ำ (ต่ำกว่าพันโวลต์) 380/220 และ 440/220 โวลต์ • ตามบ้านทั่วไป=>แรงดันไฟฟ้าอยู่ที่ 220 โวลต์

  48. โรงไฟฟ้าพลังความร้อน โรงไฟฟ้าพลังน้ำ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม แม่เมาะ 2,625 MW เทินหินบุน 214 MW สิริกิติ์ 500 MW ภูมิพล 736 MW น้ำพอง 710 MW N NE ลานกระบือ 169 MW ปากมูล 136 MW เขาแหลม 300 MW C ห้วยเฮาะ 133 MW ลำตะคอง 500 MW ศรีนครินทร์ 720 MW วังน้อย 2,031 MW • EPEC 350 MW บางปะกง 3,675 MW บ่อวิน 713 MW • TECO 700 MW • ราชบุรี • 3,645 MW ระยอง 1,232 MW IPT 700 MW Metro เขต กทม. พระนครใต้ 2,288 MW หนองจอก 366 MW S • ขนอม 824 MW รัชชประภา 240 MW ระบบส่ง 230,000 โวลต์ ระบบส่ง 500,000 โวลต์ • สุราษฎร์ 240 MW โรงไฟฟ้ากังหันแก็ส บางลาง 72 MW

More Related