1 / 26

รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553

รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553. กองการศึกษาผู้ใหญ่ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาและศูนย์บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. สำนักบริหารการศึกษานอกโรงเรียน. สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. หน้า 1.

Download Presentation

รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รศ. ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 7 เมษายน 2553

  2. กองการศึกษาผู้ใหญ่ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาและศูนย์บริภัณฑ์เพื่อการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน สำนักบริหารการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน้า 1

  3. การส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย การส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย • 2. การส่งเสริมบทบาทของชุมชน • 3. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ • 4. การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา หน้า 2-3

  4. การเปลี่ยนแปลงมุมมองด้านการศึกษาการเปลี่ยนแปลงมุมมองด้านการศึกษา • 2. ทุกภาคส่วนของสังคมมีสิทธิและหน้าที่ • ในการจัดการศึกษา • 3. การทบทวนปรัชญาพื้นฐานการจัด • การศึกษา • 4. การพัฒนาตัวตนขององค์กร กศน. หน้า 3

  5. “การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”… “ตัวช่วย” ของ กศน. ในของยุค KM 1. การประชาสัมพันธ์ (Public Relation) 2. “ภาพลักษณ์” (Image) 3. “การสร้างตราสินค้า” (Branding) 4. “วัฒนธรรมองค์กร” (Corporate Culture) หน้า 6-7

  6. “การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”… “ตัวช่วย” ของ กศน. ในของยุค KM การประชาสัมพันธ์เชิงรุก”(Proactive PR) • เป็นการเสาะแสวงหาโอกาสต่าง ๆ ในการสร้างข่าวสาร หรือสร้างเหตุการณ์ต่าง ๆ มากกว่าการคอยแก้ไขปัญหา • นำมาใช้กับการแนะนำ หรือการปรับปรุงนโยบายใหม่ หรือการริเริ่มโครงการต่าง ๆ ขององค์กร หน้า 7

  7. การประชาสัมพันธ์ทำอย่างไร? ให้มี “ประสิทธิภาพ” การประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ 1. การวิจัย-การรับฟัง 2. การวางแผน-การตัดสินใจ 3. การสื่อสาร-ลงมือปฏิบัติ 4. การประเมินผล หน้า 8

  8. การประชาสัมพันธ์ทำอย่างไร? ให้มี “ประสิทธิภาพ” กระบวนการ และขั้นตอนของการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ • การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล • สถานการณ์ • ภูมิหลัง • ปัญหา • ฯลฯ • การวางแผนและโครงการ • การวิเคราะห์ยุทธวิธี • เป้าหมาย • ทางเลือก • ผลดี ผลเสีย • ผลที่ติดตามมา • การตัดสินใจ • การดำเนินยุทธวิธี • การใช้สื่อ • กำหนดสื่อ • กำหนดงบประมาณและค่าใช้จ่าย • การพิจารณาอนุมัติ • การเสนอพิจารณา • การให้ความสนับสนุน • การมีส่วนร่วม • การสื่อสาร • การปฏิบัติการ • จังหวะเวลา • การย้ำเตือน • การติดตามผล • การประเมินผล • ผลที่ได้รับ • ปฏิกิริยาตอบกลับ • การพิจารณาทบทวน • การแก้ไปรับปรุง • ฯลฯ 3 4 หน้า 9

  9. ความหมาย : 1.ความหมายในเชิงการตัดสินคุณค่าจาก ความคิดเห็น 2. ความหมายในเชิงการตัดสินคุณค่าจาก เกณฑ์ที่กำหนด 3. ความหมายในเชิงกระบวนการรวบรวม ข้อมูล สารสนเทศ หน้า 14-15

  10. ความสัมพันธ์ระหว่างการวัด การประเมินผล และการตัดสินใจ หน้า 16

  11. ประโยชน์ : 1. รับรู้ถึงสภาพปัญหาที่เป็นอยู่ สาเหตุ และปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง 2. รับรู้ถึงการดำเนินงาน การปฏิบัติงาน รวมทั้ง ผลลัพธ์ที่ได้ 3. รับรู้ถึงประสิทธิผล และประสิทธิภาพของการ ดำเนินงาน 4. รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินงาน หน้า 16

  12. ประเภทการประเมินผลโครงการประเภทการประเมินผลโครงการ อาจจำแนกการประเมินผลโครงการออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การประเมินโครงการก่อนดำเนินการ(Preliminary Evaluation) เป็นการศึกษาประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ก่อนที่เริ่มโครงการใด ๆ 2. การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ(Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลเพื่อการปรับปรุงเป็นสำคัญซึ่งมักจะใช้ประเมินผลระหว่างแผนหรือระหว่างพัฒนาโครงการ หน้า 16-18

  13. ประเภทการประเมินผลโครงการ (ต่อ) 3. การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative Evaluation) เป็นการประเมินผลรวมสรุป มักจะดำเนินการหลังสิ้นสุดโครงการ 4. การประเมินประสิทธิภาพ ช่วยเสริมให้โครงการสามารถดำเนินการอย่างสอดคล้องกับสภาวการณ์ของสังคม เพราะนอกจากความสำเร็จของโครงการแล้ว ยังจะต้องคุ้มค่าในเชิงของประสิทธิภาพด้วย หน้า 18-19

  14. การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงสำรวจ : 1 ในวิธีการติดตามประเมินผล โครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุก “การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)” เป็นการวิจัยที่มุ่งค้นหาความรู้ความจริงจากสภาพที่ปรากฏอยู่ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิดความต้องการของประชาชน หรือเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร ต่าง ๆ ทางสังคมผลจากการสำรวจสามารถต่อไปสู่การวางแผนและนโยบายต่าง ๆ หน้า 21

  15. การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ ทำไม?ต้องเป็น การวิจัยเชิงสำรวจ!!! การวิจัยเชิงสำรวจสามารถนำมาใช้ติดตามประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อสำรวจว่าโครงการประชาสัมพันธ์ที่ลงทุนลงแรงไปนั้นสามารถบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้มากน้อยเพียงใด หน้า 21

  16. การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์ : กรณีการวิจัยเชิงสำรวจ ประโยชน์ของการวิจัยในงานประชาสัมพันธ์ 1. ทำให้เกิดการสื่อสารแบบสองทิศทางระหว่างองค์กรกับประชาชน 2. ทราบถึงความเป็นไปขององค์กร ในทัศนะของประชาชน 3. ช่วยให้ค้นพบปัญหาก่อนที่ปัญหาจะลุกลามใหญ่โต 4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อหรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร หน้า 21

  17. กระบวนการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อติดตามประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุก มี 3 ขั้นตอน 1. ขั้นเตรียมการและการวางแผนการวิจัย 2. ขั้นดำเนินการ 3. ขั้นตอนสรุปและนำเสนอการวิจัย หน้า 22

  18. กำหนดปัญหาที่จะศึกษา • วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องที่จะศึกษา • ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เตรียมการ • นิยามปัญหา • กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย • กำหนดขอบเขตการวิจัย • กำหนดสมมติฐาน • กำหนดเครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย • กำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล • เขียนโครงการวิจัย หรือข้อเสนอโครงการ กำหนดแผนการวิจัย • สร้างเครื่องมือวิจัย • ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และปรับปรุง • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล • เสนอผลการวิเคราะห์ • สรุป อภิปรายผลการวิจัย ดำเนินการวิจัย นำเสนอผล นำเสนอผล หน้า 23

  19. Mkt PR Mkt PR Mkt PR MPR P M “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ในยุค KMและ ในอนาคต 1 2 ปัจจุบัน & อนาคต 3 4 5 หน้า 27

  20. “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ทำไม? ต้องเป็นการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1.ค่าสื่อโฆษณาราคาสูงขึ้น2.ตลาดและสื่อแตกแยกย่อยมากขึ้น 3.นักการตลาดนิยมใช้เครื่องมือการสื่อสารผสมผสานกันมากขึ้น 4.ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 5. งบประมาณมีจำกัดแต่ต้องสร้างความน่าเชื่อถือ และภาพลักษณ์ที่ดีเพื่อให้จำหน่ายสินค้าหรือบริการได้ หน้า 28

  21. “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ประเภทของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1. การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาดแบบรุก(Proactive MPR) มุ่งสร้างโอกาสทางการตลาดมากกว่าคอยแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น 2. การประชาสัมพันธ์เชิงการตลาดแบบรับ(Reactive MPR) มุ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสินค้าหรือบริษัทอันเป็นการทำลาย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ของสินค้าหรือบริษัท 3 หน้า 28

  22. “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ขอบเขตของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด 1. การเขียนและบริหารแผนการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (MPR Planning and Management) 2. สื่อมวลชนสัมพันธ์ (Media Relations) 3. การเผยแพร่ข่าวสาร (Producing Publicity) 4. การผลิตสิ่งพิมพ์ (Producing Publications) 5. การสื่อสารองค์กร (Corporate Communications) 3 4 5 หน้า 29

  23. “MPR” การประชาสัมพันธ์ที่ได้มากกว่าภาพลักษณ์ ขอบเขตของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด(ต่อ) 6. การล็อบบี้ (Lobbying) 7. การบริหารภาวะวิกฤต(Crisis Management) 8. การวิจัยและวิเคราะห์ (Research and Analysis) 9. กลุ่มชนเป้าหมายของการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (Marketing Public Relations Audience) 10. การลงมือปฏิบัติตามแผนการประชาสัมพันธ์เชิงการตลาด (Implementing Marketing Public Relations) หน้า 29-30

  24. การประชาสัมพันธ์องค์กรเป็นกลไกการบริหารการประชาสัมพันธ์องค์กรเป็นกลไกการบริหาร • ผู้บริหารต้องเกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์ 1. ต้องแก้ไขความเข้าใจผิด 2. การชี้แจงควรให้ข่าวสารที่เป็นข้อเท็จจริง 3. การประชาสัมพันธ์แบบเบี่ยงเบน 4. การนำเยี่ยมชมกิจการขององค์กร หน้า 33

  25. Mr. Galen G. Weston Loblaw Co.Ltd. หน้า 37

  26. บทนำ โครงการประชาสัมพันธ์ ผลการดำเนินงาน หน้า 44

More Related