1 / 74

เอกสารประกอบการสัมมนา - เพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) วันเสาร์ที่ 11 กันยายน 2553 โรงแ

เอกสารประกอบการสัมมนา - เพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) วันเสาร์ที่ 11 กันยายน 2553 โรงแรมตะวันนา รามาดา ถนนสุรวงศ์ กรุงเทพฯ. ติดตามข่าวสาร. ทุกวันพุธ เวลา 8.00 – 9.00 น. ทางสถานีวิทยุจุฬา FM 101.5 www.curadio.chula.ac.th. ความคืบหน้า IFRS.

remy
Download Presentation

เอกสารประกอบการสัมมนา - เพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) วันเสาร์ที่ 11 กันยายน 2553 โรงแ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการสัมมนา - เพิ่มเติม มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (IFRS) วันเสาร์ที่ 11 กันยายน 2553 โรงแรมตะวันนา รามาดา ถนนสุรวงศ์ กรุงเทพฯ

  2. ติดตามข่าวสาร ทุกวันพุธ เวลา 8.00 – 9.00 น. ทางสถานีวิทยุจุฬา FM 101.5 www.curadio.chula.ac.th

  3. ความคืบหน้า IFRS • คาดว่าจะใช้กับบริษัทที่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ (Publicly Accountable Entity : PAE) เช่น บริษัทมหาชน, สถาบันการเงิน, โรงรับจำนำ, บริษัทรับประกัน • ในอนาคตอันใกล้ อาจมีแนวปฏิบัติทางบัญชีกับบริษัทที่ไม่มีส่วนได้เสียต่อสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entity : NPAE)

  4. IFRS = IAS + IFRS

  5. ปี 2011 • ก้าวเข้า IFRS แต่ไม่ full version เช่น บางฉบับชะลอไปก่อน • TAS 41 เกษตรกรรม • เครื่องมือทางการเงิน • TAS 32/TFRS 7/TAS 39 (TFRS9) • TAS 21 ผลกระทบอัตราแลกเปลี่ยน เพราะ functional currency ของหลายกิจการ

  6. Rotable Spare Parts : RSP คำถาม : Rotable Spare Parts หากยังไม่เบิกใช้ ถือเป็น inventory หรือ fixed ASSETS ??? ตอบ : fixed asset • ให้เริ่มคิดค่าเสื่อมเมื่อไร ? ที่ถูกต้อง คิดเมื่อเบิกเข้าไปเปลี่ยนแทน เพราะถือว่าจุดเบิกใช้คือจุดที่ RSP เข้าไปอยู่ในสถานที่ (ในตัวเครื่องจักร) และในสภาพพร้อมใช้ (ใช้งานร่วมกับส่วนประกอบอื่นๆ)

  7. ตีความเกิดขึ้นเพราะ • มาตรฐานบัญชีที่มีอยู่มันวิ่งไมทันกับธุรกรรม เช่น Customer loyalty program • 7-11 , BIG -C • Land and House • Robinson (central) • Fuji • NMG

  8. IFRIC 13 (TFRI 13) • แยกแต้มสะสมจากราคาขายสินค้า เช่น ขายกาแฟ 10 แก้ว ๆ ละ 11 บาท แก้ว 11 ทานฟรี  10 x 11 = 110 บาท คือ สำหรับ 11 แก้ว ตกแก้วละ 10 บาท  FV = 1บาท

  9. การบันทึกบัญชี Dr. เงินสด 11 Cr. ค่าขาย 10 รายได้รับล่วงหน้า 1

  10. SIC (TI)27 • ธุรกรรม sale and leaseback • เดิม มองเป็น 2 รายการแยกกัน คือ 1) ขายสินทรัพย์ 2) เช่าคืนกลับ บ่อยครั้ง พยายามทำให้สัญญาเช่าตกเป็น Operation Lease • ปีหน้า sale and leaseback มองเป็น 1 รายการ คือ การกู้เงินอย่างหนึ่ง โดยนำสินทรัพย์ไปจำนำไว้

  11. วันที่สัญญาเช่ามีผล Dr. เงินสด xx ดอกเบี้ยจ่ายรอตัด xx Cr. เจ้าหนี้ – เงินกู้จาก leasing xx (ค่าเช่าxจำนวนงวด + ราคาใช้สิทธิ)

  12. IFRIC 4 โรงไฟฟ้า (IPP)/โรงประปา (take or pay) • หาแหล่งเงินกู้เอง • เอามาสร้างโรงไฟฟ้า • ทำสัญญาขายไฟล่วงหน้า 15 ปี ให้ EGAT ตามปริมาณและราคาที่ตกลงในสัญญา • แบบนี้อาจตีความว่าเป็น finance lease

  13. การบันทึกบัญชีของบริษัทเอกชนการบันทึกบัญชีของบริษัทเอกชน Dr. ลูกหนี้ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟ xx (รวม residual value) Cr. งานระหว่างก่อสร้าง xx ดอกเบี้ยรับรอตัด xx ค่าซ่อมบำรุงรับล่วงหน้า xx

  14. ปัจจุบันมาตรฐานการบัญชีมี 30 ฉบับ • US GAAP + IFRS(version เก่า ๆ ราชวิถี) + Local GAAP

  15. ตีความมาตรฐานการบัญชี 3 ฉบับ Slips + CAPs  ตราสารกึ่งหนี้ กึ่งให้สิทธิแปลงเป็นหุ้นบุริมสิทธิ์

  16. วิธีปฏิบัติทางบัญชี • สิทธิการเช่า ไม่ใช่สินทรัพย์ไม่มีตัวตน/PPE เพราะอะไรจะเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตนได้ต่อเมื่อ • ไม่มีรูปวัตถุ • ระบุประโยชน์ทางเศรษฐกิจแยกจาก สินทรัพย์ อื่น • เป็น non-monetary asset • สิทธิการเช่า ห้าม revalue • สิทธิการเช่า คือ ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าให้ทยอยตัดจ่ายตามระยะเวลาสัญญาเช่า • ควรแยกส่วนที่จะได้รับประโยชน์ในไม่เกิน 1 รอบบัญชี เป็น สินทรัพย์หมุนเวียน

  17. ต้นปี 56 จะรวมใน TFRS 9

  18. TAS 101 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ • อนุญาตให้ตั้งค่าเผื่อ • Aging (อาศัยประสบการณ์ ในการตั้ง บ่อยครั้ง • Cookie reserve  ปีทอง กำไรทะลุเป้า mgmt มักขอฝ่ายบัญชี ให้ตั้งค่าเผื่อสูงไว้ • Big Bath  ปีตกต่ำ กำไรไม่เข้าเป้า mgmt มัก whole sale write-down of assets)

  19. ปี 56 aging ต้องเลิก • ประเมินลูกหนี้ที่สงสัยจะสูญเป็นแต่ละราย • รายใด จะเก็บไม่ได้เต็มจำนวน  ทำประมาณกระแสเงินสดคิดลดมาเป็น PV แล้วนำไปเทียบกระแสเงินสดคิดเทียบกับมูลหนี้ที่ติดเรา ผลต่างคือขาดทุนจากการด้อยค่าของลูกหนี้ (สถาบันการเงินเค้าทำกับลูกหนี้สินเชื่อมาพอสมควรแล้ว แต่กิจการไม่ใช่สถาบันการเงิน ยังไม่ทำ) (ภารกิจนี้น่าจะตกกับฝ่ายสินเชื่อ)

  20. ตีความ 2 • เพื่อรองรับ securitization • ขาย ทรัพย์สิน สิทธิการเช่า เข้าไปสู่กองทุนอสังหาฯ แต่ผู้ขายเข้าไปถือหุ้นในกองทุนไม่ต่ำกว่า 30% • ฉบับนี้ ออกมาเพื่อบอกว่า 30% อาจมี control ในกองทุน อาจต้องนำงบของกองทุนกลับมาทำงบรวมด้วย • ที่ผ่านมา แทบไม่มีใครทำ consol กับกองทุน • (SC Asset)

  21. Publicly Accountable Entity : PAE • บริษัทมหาชน รวมถึงที่ delist • ธุรกิจประกัน • สถาบันการเงิน • โรงรับจำนำ • บริษัทที่ยื่นเรื่องกระจายหุ้นกู้ หุ้นทุนต่อ กลต.

  22. มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ • อาจหมายถึง • ราคาถ้าจะขายทิ้งวันนี้กับ willing party ไม่ต้องใช้ผู้ประเมินอิสระ • มูลค่าการใช้งานของ สินทรัพย์  PVประมาณการกระแสเงินสดที่จะเกิดจากการใช้งาน สินทรัพย์ ด้อยค่า + PV ของ terminal value

  23. TAS 12 : Deferred Tax • ลงราชกิจจาแล้ว เมื่อเดือน พฤษภาคม 2553 • แต่ไม่บังคับกับ NPAE • จะบังคับกับ PAE ปี 56 เป็นต้นไป • สามารถ early adopt ได้ • ออกมาเร็ว เพราะปีหน้าใช้ TAS 19

  24. ผลประโยชน์ระยะสั้น • ส่วนใหญ่จะบันทึกบัญชีได้ดีอยู่แล้ว • Bonus ซึ่งมักจะลงบัญชีตอนสิ้นปี แต่ TAS 19 ต้องการให้บันทึกเร็วกว่านั้น หากเป็นไปได้แน่ว่ายังไง กำไรต้องเข้าเป้า และจ่ายโบนัสตามที่ประกาศ

  25. เงินจ่ายช่วงลากิจ ชนิดสะสม และหากพนักงานเป็นไปได้ที่จะใช้นำสิทธิไปใช่ปีหน้า

  26. - เงินจ่ายช่วงลากิจ ชนิดสะสม และหากพนักงานเป็นไปได้ที่จะใช้นำสิทธิไปใช่ปีหน้า เช่น • น.ส.บังอรมีสิทธิลา 6 วัน แต่ลาจริง 2 สามารถนำไปใช้ปีหน้า 4 วัน Dr. ผล ป ย พนักงาน Cr. คชจ ค้างจ่าย พอปีหน้า ได้ใช้สิทธิ 4 วัน Dr. คชจ ค้างจ่าย Cr. ผล ป ย พนักงาน

  27. โครงการผล ป ย (defined benefit plan) • บำเหน็จ (pension) • เงินชดเชยตาม ก ม แรงงาน (10 ปี ขึ้น) (miss ตั้งแต่สมุห์) • ไม่ลงบัญชีจนกว่าพนักงานเกษียณ

  28. 31/12/53 • ต้องคำนวณ past service costs

  29. www.ThaiBMA.com • บัญชีกิจ สัมมนา IAS19 โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย 16 กันยายน 53 (02) 382-0414

  30. 35,000 บาท เลือกได้ 4 วิธี 1) นำ 35,000 รับรู้เป็น คชจ. ของปี 54 ทั้งจำนวน แต่ให้แสดงแยกต่างจาก คชจ. ขาย/บริหาร เพราะรายการนี้เป็น one-time expense

  31. 2) เกลี่ย 35,000 เป็น คชจ. ไม่เกิน 5 รอบ (บริษัทแม่ และบริษัทลูก ใช้นโยบายเดียวกัน)

  32. 3) นำ 35,000 ไปตัดกำไรสะสมต้นปี 54 Dr. กำไรสะสม 35,000 Cr. ประมาณการหนี้สิน 35,000

  33. 4) นำ 35,000 ไปปรับงบย้อนหลังปี 53 แต่ไม่ใช่ทั้งจำนวน ไปเข้าเฉพาะ 1/35 ถ้ายุ่งนัก อย่าทำเลย ทำไมทำอะไรให้ยาก งบมันออกไปแล้ว ก้อแล้วกันไป

  34. Q: แล้วปี 54 มี current service cost ด้วยหรือไม่ A: มีซิ ให้ทำอย่างเดียวกัน สมมติว่าจำนวนสะสมของเงินชดเชยปลายปี 54 = 38,000 บาท ประมาณ 170 บาท เป็นดอกเบี้ย  current S/C = 3,000 – 170 = 2,830 ให้แสดงที่ไหนอย่างไร สามารถเกลี่ยเป็น คชจ. ประจำไตรมาสได้หรือไม่

  35. 2,830 ให้แสดงกระจายไปตาม cost center ที่พนักงานทำอยู่ • ฝ่ายผลิต  รวมในโสหุ้ยการผลิต  กำไรขั้นต้นลดลงได้ • ฝ่ายขาย  รวมใน คชจ. ขาย • ฝ่ายบริหาร  รวมใน คชจ. บริหาร

  36. ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นผลประโยชน์ระยะยาวอื่น • มีนโยบายให้ทองคำฝังเพชรพนักงานที่ทำครบ 15 ปี • มีนโยบายให้ทุนการศึกษาแก่พนักงานที่ทำครบ 3 ปี ลาเรียนต่อ ออกเงินให้ครึ่งนึง • มีโยบายทำงานครบ 2 ปี สามารถติดตั้ง internet โดยเสียค่าบริการรายเดือน ½ • ที้ผ่านมาไม่มีใครบันทึกบัญชีระหว่างทาง แต่บันทึกตอนจ่ายจริง ไม่บันทึก ก็ช่างเถอะ เพราะมักมีจำนวนไม่มาก และบางทีพอทำงานกำลังได้ทอง ยกเลิกโครงการ

  37. เมื่อเลิกจ้าง • โครงการร่วมใจจาก ไม่ควรรอให้กิจการจ่ายจริง ค่อยลงบัญชี • พลันที่วาระประชุมลดคนลง ประกาศจนทุกคนล่วงรู้ dr. เงินชดเชยเมื่อเลิกจ้าง cr. เงินชดเชยค้างจ่าย

  38. สินทรัพย์โครงการ (plan asset) • ใน ตปท เมื่อได้กันสำรองสำหรับเงินชดเชยตาม กม แรงงาน มักจะนำไปลงทุนในกองทุน เพื่อนำเงินมาคืนพนักงานเมื่อเกษียน dr. เงินลงทุนในกองทุน 120 cr. เงินสด 120 สมมติว่าได้ตั้งประมาณการหนี้สินไว้ 145 เราสามารถนำ 120 ไปหักกลบกับ 145 แล้วออกเป็นหนี้สิน 25

  39. www.bunchikij.com

  40. งบกำไรขาดทุน รายได้ XX หัก ต้นทุนขายและค่าใช้จ่าย XX กำไรสุทธิ 1,200 บวก หักOCI (other comprehensive income) รายการที่มาตรฐานบัญชีสมัยเดิมให้รับรู้ โดยตรงไปยังส่วนผู้ถือหุ้น กำไรไม่เกิดจริงการตีราคาที่ดิน 110 ขาดทุนจากหลักทรัพย์เผื่อขาย (30) กำไรเบ็ดเสร็จสุทธิ 1,280

  41. OCI มักเกิดจาก • มีเงินลงทุนเผื่อขาย  MTM • เลือกที่จะ revalue PPE และราคาปรับสูงขึ้น • มีการเปลี่ยนแปลงในสมมติฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ประกันภัย • มีการลงทุนในบริษัทย่อย ในต่างประเทศแล้วนำ มา consol • มีการป้องกันความเสี่ยงชนิด cash flow hedge(รายการพยากรณ์ )

  42. รายการ OCI เมื่อนำไปแสดงที่งบแสดงส่วนเปลี่ยนแปลงเจ้าของต้องไม่มาแจกแจง • แม้แต่ในงบดุล รายการ OCI จะเป็นยอดสะสม ก็ไม่แสดงรายละเอียดเช่นกัน

  43. OCI ต้องแสดงเป็นยอดสุทธิจากภาษีเงินได้ เช่น หากกิจการไปตีราคาที่ดินเพิ่มในระหว่างปีจาก 500 เป็น 590 Dr. ที่ดิน 90 Cr. กำไรไม่เกิดจริง 90

  44. OCI • กำไรไม่เกิดจริง 63 เดี๋ยวสภาฯ ออกประกาศเพิ่มเติม ว่ากรณี NPAE อนุญาตให้แสดงรายการ OCI ก่อนภาษี

  45. ปีหน้า • หาก • เปลี่ยนนโยบายบัญชี เช่น tax payable  deferred tax • Reclassify รายการใหม่ • แก้ไขข้อผิดพลาด • ต้องออกงบดุลเปรียบเทียบ 3 งวด และงบกำไรขาดทุนอย่างน้อย 2 งวด

  46. สภาเห็นใจว่าทำงบดุล 3 งวด > ยาก โดยปีหน้ามี promotion • อนุญาตงบดุล 2 งบกำไรขาดทุน 2

  47. SCC, PTT

  48. ปีหน้า • ยกเลิกดูประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นหลังมีรายจ่าย • ดัดแปลง • ปรับปรุง • เปลี่ยนแทน • ต่อเติม ขอแค่รายเหล่านี้เข้า 2 ข้อใน slide 50 แม้ไม่เพิ่ม ประสิทธิภาพผิดกับ สมัยเดิม ต้องเน้นการดูประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

  49. การจะลงบัญชีแบบนี้ได้ แสดงว่ากิจการต้องนำ component approach

  50. เดิม ราคาซากกำหนดไปหนเดียวตอนได้มา ไม่มีการทบทวนใดๆ • ปีหน้า ราคาซากเป็นสิ่งที่ต้องทบทวนทุกสิ้นรอบบัญชี แต่ทำเฉพาะ สินทรัพย์ ที่มีราคาซากเป็นสาระ

More Related