220 likes | 525 Views
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์. รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration. ศึกษาเกี่ยวกับ กิจการสาธารณะ ( Public Affairs ) หลักการ ความรับผิดชอบและพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึง ผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest ). การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
E N D
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration ศึกษาเกี่ยวกับ • กิจการสาธารณะ ( PublicAffairs ) หลักการ • ความรับผิดชอบและพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึง ผลประโยชน์สาธารณะ (PublicInterest )
การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจการบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ - การบริหารงานภาครัฐเน้นผลประโยชน์สาธารณะมากกว่าบุคคล การบริหารงานภาคเอกชน - การบริหารงานภาคเอกชนอยู่ที่ผลประโยชน์ส่วนบุคคล องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ปรับใช้ การบริหารงานภาคเอกชน การบริหารงานภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร พัฒนบริหารศาสตร์
พัฒนบริหารศาสตร์ ( Development Administration ) • นักวิชาการต่าง ได้ยอมรับกันว่า หลักการหรือทฤษฎีที่ได้มาจากการศึกษาของสังคมหนึ่ง อาจไม่สามารถนำมาใช้หรืออธิบายกับอีกสังคมหนึ่ง พยายามสร้างขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับประเทศกำลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
พรมแดนแห่งความรู้ (Boundary) สาขาวิชา (Content) ระเบียบวิธี (Methodology) ปรากฏการณ์จริงในภาคปฏิบัติ (Practice)
ลักษณะวิธีวิเคราะห์ • กรอบวิเคราะห์เชิงพัฒนาการ • (History Approach) • การศึกษาการกำเนิดรัฐ • การศึกษาหน้าที่ของรัฐ • การศึกษาบทบาทของรัฐ กรอบวิเคราะห์หลายส่วนที่เชื่อมกัน ( Cross-Sectional Approach ) “สภาพเหนือรัฐ” มีอิทธิพลต่อ “การบริหารงานภายในรัฐ”อย่างไร • กรอบวิธีวิเคราะห์เชิงกฎหมาย • (Legal Approach) • ที่มาของอำนาจ (อำนาจนิติบัญญัติ) • การใช้อำนาจ(อำนาจบริหาร) • การตรวจสอบและแก้ไข(อำนาจตุลาการ)
ช่วงแรก ให้ความสนใจเกี่ยวกับรูปแบบวิธีการศึกษาไม่มากนัก ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นเนื้อหาสาระมากกว่า ต่อมา ได้มีการพัฒนามาเป็นสาขาวิชาที่มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาที่เน้นเฉพาะของตนมากขึ้น โดยมีแนวทางดังนี้ ลักษณะการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์
แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์แนวทางของรัฐประศาสนศาสตร์ • เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ • ไม่ให้ความสนใจในเรื่องความบริสุทธิ์ของศาสตร์ • สหสาขาวิชา (Inter – Disciplinary Approach) - รัฐศาสตร์ - เศษฐศาสตร์ - สังคมวิทยา - กฎหมาย - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ • สังคมศาสตร์สาขาต่างๆ การกำหนดนโยบายสาธารณะ
เนื้อหาขององค์ความรู้เนื้อหาขององค์ความรู้
รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่รัฐประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่ แนวคิดหลัก 4 กระแส Government เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) New Public Management : NPM การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) Good Govemance Governance รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) กฎหมายมหาชน (Public Law)
เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิคเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Marketization) ความคุ้มค่าของเงินเป็นหลัก Value for Money ประสิทธิภาพ Efficiency Privatization & Corporatization Cutback Management เครื่องมือ Reduction in force Market Testing
การบริหารจัดการสมัยใหม่ (Business-like Approach) ผลสัมฤทธิ์ Effectiveness คุณภาพ Quality ความรับผิดชอบ Accountability เครื่องมือ Devolution of the Centralized Downsizing
การมีส่วนร่วม Participation ความโปร่งใส Transparency รัฐศาสตร์ในยุคใหม่ (Participatory State) การตอบสนอง Responsiveness การกระจายอำนาจ Decentralization
หลักนิติรัฐ - นิติธรรม Rule of law กฎหมายมหาชน (Public Law) ความยุติธรรมไม่ลำเอียง Fairness or Impartiality
จบ...แล้วจ้า By น.ส. เยาวธิดา แก้วมุงคุณ 4741636724