1 / 62

ตำบล บูรณา การเพื่อพัฒนาสุขภาพ

ตำบล บูรณา การเพื่อพัฒนาสุขภาพ. วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมพญาแถน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร. สถานการณ์สุขภาพคนไทย. ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชน. ตาราง แสดงพฤติกรรมสุขภาพรายข้อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2556. เป้าหมาย.

Download Presentation

ตำบล บูรณา การเพื่อพัฒนาสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตำบลบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาพตำบลบูรณาการเพื่อพัฒนาสุขภาพ วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมพญาแถน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

  2. สถานการณ์สุขภาพคนไทย

  3. ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชนข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชน ตาราง แสดงพฤติกรรมสุขภาพรายข้อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตกรุงเทพมหานคร ปี2556

  4. เป้าหมาย • เพิ่มการเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ลดโรค เพิ่มสุข • ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔. ลดรายจ่ายด้านสุขภาพ

  5. DHS & DCCD ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอ และอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง เข้าถึงบริการ รักษา/ฟื้นฟู Essential Care D H S สุขภาพดี ลดพฤติกรรมเสี่ยง ส่งเสริม Self Care สุขภาวะ ป้องกันโรค ลดโรค DCCD/SRRT คุ้มครองผู้บริโภค จิตอาสา / อสม. คนดี รายได้พอดี วิสาหกิจชุมชน ตำบลจัดการสุขภาพ

  6. ตำบลบูรณาการ เข้าถึงบริการ รักษา/ฟื้นฟู Essential Care D H S สุขภาพดี ลดพฤติกรรมเสี่ยง ส่งเสริม Self Care สุขภาวะ ป้องกันโรค ลดโรค DCCD/SRRT คุ้มครองผู้บริโภค จิตอาสา / อสม. คนดี รายได้พอดี วิสาหกิจชุมชน ตำบลจัดการสุขภาพ

  7. ทำไมต้องตำบลบูรณาการ ???? ๑) ๒) ๓) ๔) ๕)

  8. กิจกรรมการบูรณาการ • หมอครอบครัว / PCA • หมู่บ้านจัดการสุขภาพ • ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • โรงเรียนสุขบัญญัติ

  9. เป้าหมายตำบลบูรณาการ

  10. ทบทวนกระบวนการและเป้าหมายทบทวนกระบวนการและเป้าหมาย • หมอครอบครัว / PCA • หมู่บ้านจัดการสุขภาพ • ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • โรงเรียนสุขบัญญัติ

  11. ๑.หมอครอบครัว/PCA

  12. รายบุคคล TB พัฒนาการ 0-5 ปี C I2 Stroke ดญ.แม่ วัยเรียน 6-14 AIDS นโยบาย ยาเสพติด ฆ่าตัวตาย A ศูนย์สุขภาพ เด็ก วัยรุ่น 15-20 เด็กซิ่ง • เข้าถึงบริการ(2) • โรคเรื้อรังลดลง(3) • เฝ้าระวังภัย(5) • กลุ่มเฉพาะ(CANDO)(6) • จัดการแพทย์แผนไทยในตำบล(10) • พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ(13) อ้วน มั่วสุม วัยทำงาน 20-60 CA Breast รพศ N CA Cx D ศูนย์สุขภาพ สตรี ปชช DM/HT ติดสังคม O สูงอายุ >60 พิการ (ระดับดูแล) รพ.สต. รพท นสค. มี 5 ทักษะ ติดบ้าน ติดเตียง ฟันเทียม ศูนย์สุขภาพ ผู้สูงอายุ สิ่งแวดล้อม COPD (บุหรี่) สร้างสุขภาพ รพช บ้าน ตับ (พยาธิ/เหล้า) อาหารปลอดภัย ศูนย์ฟื้นฟู ผู้พิการ ร้านชำ MCH ปลอดโรค ชุมชน อสม.(7) ปัญหา? ปัญหา? ปัญหา? รร./วัด เอื้อคนพิการ/ชรา ลานกีฬา ลด ละ เลิก

  13. ๒.หมู่บ้านจัดการสุขภาพ๒.หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

  14. เกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพเพื่อการพัฒนาเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพเพื่อการพัฒนา 6 ผลสัมฤทธิ์ของการจัดการสุขภาพ (3 คะแนน) มีระบบเฝ้าระวังโรค/ภาวะวิกฤติในชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ศูนย์เรียนรู้ในชุมชน 5 การประเมินผลการจัดการด้านสุขภาพในหมู่บ้าน (อย่างน้อย 2 ใน 6 วิธี) (1 คะแนน) มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในชุมชน 4 การจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพในหมู่บ้าน (1 คะแนน) การพัฒนาศักยภาพ อสม. สร้างสุขภาพ/นวัตกรรม บริการสุขภาพ ถ่ายทอดความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน 3 การจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนาสุขภาพ (1 คะแนน) 3.1 พัฒนาคน 3.2 แก้ไขปัญหา 3.3 จัดบรืการสาธารณสุข 2 การจัดทำแผนด้านสุขภาพโดยชุมชน (1 คะแนน) 2.1 มีการจัดทำแผนงานด้านสุขภาพหรือไม่ 2.2 กลุ่ม/องค์กรที่มีส่วนร่วมในการจัดทำแผน 1 การมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชน (3 คะแนน) 1.1 การจัดเวทีประชุมขององค์กร อสม. 1.2 การร่วมพัฒนาสุขภาพชุมชน 1.3 การกำหนดกติกาของชุมชน

  15. ระยะเวลาในการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพเพื่อการพัฒนาระยะเวลาในการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพเพื่อการพัฒนา เกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ประเมินตามแบบประเมิน ปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรก ต้นปีงบประมาณ ครั้งที่ 2 ภายใน ๑๕ เดือนมิถุนายน นำผลการประเมินคีย์ทาง WWW.thaiphc.net

  16. ๓. ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน

  17. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ หมายถึง ตำบลที่มีกลไก การจัดการสุขภาพระดับตำบล ประกอบด้วยองค์กรหลัก อย่างน้อย 3 องค์กร องค์กรภาครัฐ (สถานีอนามัย โรงเรียน เกษตร พัฒนา) ท้องถิ่น (เทศบาล, อบต.) ภาคประชาชน (กลุ่ม อสม. กลุ่มแม่บ้าน ผู้นำชุมชน ฯลฯ)

  18. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ คุณลักษณะของทีมตำบลจัดการสุขภาพ • มีความสมัครใจในการเข้าร่วมดำเนินงานด้านสุขภาพ • มีความเข้าใจแนวคิด หลักการและกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ • มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี • มีทักษะในการสื่อสาร บทบาทหน้าที่ของทีมตำบลจัดการสุขภาพ • ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนา • บริหารจัดการคน ความรู้และทุน • พัฒนาศักยภาพกำลังคนในชุมชน • สร้างและพัฒนาระบบสื่อสาร • ส่งเสริมกระบวนการจัดทำแผนชุมชน • ส่งเสริม สนับสนุนและผลักดันให้เกิดมาตรการทางสังคม

  19. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ บทบาทหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • ประสานความร่วมมือในการดำเนินงาน • สร้างความเข้าใจ • สนับสนุนด้านวิชาการ • สร้างเวทีเรียนรู้ • คืนข้อมูล

  20. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ บทบาทหน้าที่ของภาคท้องถิ่น • กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ • หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน • มีแผนและสนับสนุนการดำเนินงาน • สนับสนุนการเรียนรู้ของชุมชนในการดำเนินงาน

  21. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ บทบาทหน้าที่ของภาคประชาชน • ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น • สะท้อนข้อมูล • ร่วมในกระบวนการทำแผน • ร่วมกิจกรรม/ดำเนินการ

  22. สรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพสรุปแนวคิดตำบลจัดการสุขภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จตำบลจัดการสุขภาพ • มีทีมจัดการสุขภาพ • มีการพัฒนาศักยภาพทีม • มีการบริหารจัดการทุน • มีการวิเคราะห์สถานการณ์ • มีแผนการดำเนินงานด้านสุขภาพ • มีการดำเนินงานตามแผน • มีการประเมินผล • มีและใช้ข้อมูลและเครื่องมือทางการบริหาร • มีการจัดการความรู้ • หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ มบ.จัดการสุขภาพ

  23. กรอบการประเมิน ผลการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ

  24. เกณฑ์การประเมินตำบลจัดการสุขภาพดีวิสาหกิจชุมชนเกณฑ์การประเมินตำบลจัดการสุขภาพดีวิสาหกิจชุมชน ระดับดีเยี่ยม ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ ๕.๑ มีวิทยากรชุมชน (ครูหรือต้นแบบ) ๕.๒ มีการสรุปบทเรียนการ พัฒนา๕.๓เกิดศูนย์เรียนรู้สุขภาพชุมชน ๕.๔สร้างเครือข่ายการ เรียนรู้๕.๕วิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า ระดับดีมาก ตำบลมีระบบการจัดการอย่างต่อเนื่อง ๔.๑ มีข้อมูลเพื่อการติดตามประเมิลผล ๔.๒ มีกระบวนการบริหารจัดการที่ดี ๔.๓ มีการสรุปประเมินผล ๔.๔ มีผลลัพธ์ของการพัฒนา ๔.๕วิสาหกิจชุมชนขั้นพื้นฐาน ๒ แห่ง ระดับดี การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ ๓.๑ ชุมชน/ท้องถิ่นเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนแผนฯ ๓.๒มีกิจกรรมเชิงรุกตามแผน ฯ ๓.๓มี อสม.นักจัดการสุขภาพที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒๐% ๓.๔หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ฯ ร้อยละ ๗๐ ๓.๕เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ระดับพัฒนา การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ๒.๑ มีการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพของชุมชน ๒.๒ มีการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ๒.๓ มีการระดม ทรัพยากรมาใช้ ๒.๓ มีการสื่อสารแผนงาน/โครงการ ๒.๕ มีการวิเคราะห์สถานการณ์วิสาหกิจชุมชน ระดับพื้นฐาน การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ(ทีมงาน) ๑.๑ มีองค์ประกอบเครือข่ายเข้าร่วมทีม ๑.๒ สร้างและพัฒนาทีม ๑.๓ อบรมเรื่องการจัดทำแผนสุขภาพตำบลแก่ อสม. ๑.๔ อบรมเรื่องโรควิถีชีวิตแก่ อสม. ๑.๕ ศึกษาเก็บข้อมูลเกี่ยวกับทุนของวิสาหกิจชุมชน

  25. ตำบลจัดการสุขภาพ • ต้นทุน อบรม อสม.นักจัดการ • การประเมินผลการพัฒนาศักยภาพ อสม. (กรอบการประเมิน) • - ด้านความรู้ • - ด้านทักษะ (ประเมินศักยภาพตนเองในการจัดการสุขภาพของ อสม.) • การจัดการสุขภาพตนเองและครอบครัว • การเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย • การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานโครงการแก้ไขปัญหา/พัฒนาสุขภาพชุมชน (งบฯ สาธารณสุขมูลฐาน ,กองทุนสุขภาพระดับพื้นที่,องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,หรืออื่น ๆ) • การจัดกิจกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย บริบทและสภาพปัญหาของพื้นที่ • การติดตามประเมินผล

  26. เนื้อหาวิชา กลุ่มหญิงตั้งครรภ์(ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเร็ว) วัตถุประสงค์ มาตรฐานรายวิชา 2.1 ความหมายและความสำคัญของการตั้งครรภ์และการฝากครรภ์ 2.2 การตั้งครรภ์เมื่อพร้อมและการฝากครรภ์เร็ว 2.3 การติดตามหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอด 2.4 การดูแลสุขภาพจิตหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอด 2.5 การจัดการสุขภาพเพื่อส่งเสริมการฝากครรภ์เร็ว

  27. เนื้อหาวิชา กลุ่มเด็กปฐมวัย (ส่งเสริมให้พ่อแม่เลี้ยงดูลูกที่ถูกต้อง ให้มีส่วนสูงดีรูปร่างสมส่วน) วัตถุประสงค์ มาตรฐานรายวิชา 3.1 การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย 3.1.1 ความหมายและความสำคัญของพัฒนาการเด็ก 3.1.2 หลักการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย 3.1.3 การเล่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว

  28. กลุ่มเด็กปฐมวัย (ส่งเสริมให้พ่อแม่เลี้ยงดูลูกที่ถูกต้อง ให้มีส่วนสูงดีรูปร่างสมส่วน) 3.2 อาหารกับการเจริญเติบโตตามวัย 3.2.1 ความหมายและความสำคัญของการเจริญเติบโตตามวัย 3.2.2 นมแม่ 1)ความสำคัญของน้ำนมแม่ 2)วิธีการให้นมแม่ที่ถูกวิธี 3 ด. (ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี) 3.2.3 อาหารกับการเจริญเติบโตตามวัย (รู้เลือก รู้กิน เติบโต สดใสแข็งแรง)

  29. กลุ่มเด็กปฐมวัย 3.3 สุขภาพในช่องปาก 3.31ความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก 3.3.2วิธีการทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธี 3.3.3 การนวดเหงือก 3.3.4วิธีการแปรงฟันถูกวิธี 3.4 การจัดการสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย (เชิงปฏิบัติการ)

  30. เนื้อหาวิชากลุ่มวัยทำงาน (อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ) วัตถุประสงค์ / มาตรฐานรายวิชา 4.1 ความรู้และปัจจัยเสี่ยง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง(อัมพาตอัมพฤกษ์) มะเร็ง 4.1.1ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดหัวใจความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่น 4.1.2 การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4.2 การประเมินและการจัดการปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค 4.2.1การประเมินภาวะสุขภาพ ระบุกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมายที่ชัดเจน 4.2.2การจัดการเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

  31. เนื้อหาวิชากลุ่มผู้สูงอายุ (ดูแลสุขภาพเชิงรุก ประเมิน คัดกรองโรคและปัจจัยเสี่ยง) วัตถุประสงค์ / มาตรฐานรายวิชา 5.1 แนวคิด หลักการ สถานการณ์และความจำเป็นในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 5.1.1 นิยาม สถานการณ์ผู้สูงอายุ คุณค่า ศักดิ์ศรี 5.1.2 ความจำเป็นของการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 5.1.3 การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ 5.1.4 บทบาทครอบครัวกับผู้สูงอายุ 5.2 สิทธิประโยชน์ผู้สูงอายุและแนวทางการประสานงาน 5.2.1 สิทธิผู้สูงอายุตามรัฐธรรมนูญ และพ.ร.บ.ผู้สูงอายุ 5.2.2 บริการผู้สูงอายุที่ต้องได้รับ 5.2.3 หน่วยงานและองค์กรที่ให้บริการผู้สูงอายุ

  32. กลุ่มผู้สูงอายุ 5.3 การจัดการระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเชิงรุก 5.3.1 การทบทวน ขั้นตอนการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุโดยใช้การประเมินความสามารถและการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ADL 5.3.2 การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดการข้อมูล การประเมินและการคัดกรอง เพื่อชี้เป้าหมายการทำงานและคืนข้อมูลให้ชุมชน 5.3.3 บริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุ ตามความสามารถ ตามกลุ่มโรค และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อผู้สูงอายุ

  33. เนื้อหาวิชากลุ่มผู้พิการ (ดูแลสุขภาพ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำเนินชีวิต) วัตถุประสงค์ / มาตรฐานรายวิชา 6.1 ความหมาย ความรู้ ความเข้าใจภาวะความพิการ (30 นาที) 6.1.1 ความหมาย ประเภทของคนพิการและหลักการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหว 6.1.2 ความรู้ ความเข้าใจ ภาวะความพิการทางกายและการเคลื่อนไหว 6.2 สิทธิประโยชน์ผู้พิการและแนวทางการประสานงาน (30 นาที) 6.2.1 แหล่ง/หน่วยที่ให้การช่วยเหลือคนพิการและสิทธิประโยชน์ของคนพิการ

  34. กลุ่มผู้พิการ 6.2.2 แนวทาง การประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเข้าถึงการบริการของคนพิการ 6.3 การจัดการสุขภาพและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิตของผู้พิการ 6.3.1 การวางแผนดูแลสุขภาพและจัดการสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำรงชีวิตของคนพิการ 6.3.2 การปฏิบัติของ อสม.ในการช่วยเหลือครอบครัวและฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการ

  35. เนื้อหาวิชานักจัดการสุขภาพชุมชนเนื้อหาวิชานักจัดการสุขภาพชุมชน วัตถุประสงค์ / มาตรฐานรายวิชา 1. ความหมายของการจัดการสุขภาพ ๒. ความหมายของ อสม.นักจัดการสุขภาพ ๓. ทำอย่างไรถึงจะเป็น อสม.นักจัดการสุขภาพ 4. กระบวนการจัดการสุขภาพ (แผน งบประมาณ กิจกรรม ประเมินผล)

  36. ผลลัพท์ • อสม.มีความรู้ • อสม.มีทักษะในการปฏิบัติงานนักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย • เป็นบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (วัดภาวะเสี่ยงด้วยปิงปอง ๗ สี )

  37. การประเมินผล • จำนวน อสม.ที่ผ่านการอบรม • ความรู้ ทำแบบทดสอบ ๓๐ ข้อ (ผ่านร้อยละ ๘๐ ) • ประเมินทักษะการนำไปปฏิบัติหลังผ่านการอบรม • ผ่านเกณฑ์ ๕ มาตรฐาน ( ร้อยละ ๖๐ )

  38. เกณฑ์มาตรฐาน อสม. • มาตรฐานที่ 1 การส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเร็ว • มาตรฐานที่ 2 การส่งเสริมให้พ่อแม่มีพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง • มาตรฐานที่ 3 การสนับสนุนการประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อด้วยตนเอง (3 อ.2 ส. DPAC) • มาตรฐานที่ 4 การพัฒนาระบบบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ • มาตรฐานที่ 5 การค้นหาและให้การสนับสนุนดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน/ติดเตียง/ผู้พิการ

  39. ๔. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  40. ๕.โรงเรียนสุขบัญญัติ

  41. หมู่บ้านปรับเปลี่ยนฯ กระบวนงานสุขศึกษา 1. สร้างทีมดำเนินงาน 1. วิเคราะห์สภาพปัญหา/สถานการณ์ 2. วิเคราะห์พฤติกรรม/ปัจจัยด้านพฤติกรรม 2. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน 3. จัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน 3. กำหนดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. วางแผนงาน 5. เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 5. ดำเนินงานตามแผน 6. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. ติดตาม 7. ประเมินการพัฒนาหมู่บ้าน 7.ประเมินผล

  42. กระบวนงานสุขศึกษา โรงเรียนสุขบัญญัติแห่งชาติ 1. สร้างทีมดำเนินงาน 1. วิเคราะห์สภาพปัญหา/สถานการณ์ 2. วิเคราะห์พฤติกรรม/ปัจจัยด้านพฤติกรรม 2.ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล 3. กำหนดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. วางแผนและออกแบบการจัดกิจกรรม 4. วางแผนงาน 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5. ดำเนินงานตามแผน 5.จัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน 6. ติดตาม 6.ประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินงาน 7.ประเมินผล 7.ขยายสู่ครอบครัวและชุมชน

  43. เป้าหมายการให้บริการกระทรวงสาธารณสุขเป้าหมายการให้บริการกระทรวงสาธารณสุข ข้อ ๔ ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ๑) ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า ๘๕ ต่อปี) ๒) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง (ปี๒๕๕๗ = ๘,๕๐๐ ราย) ๓) อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปีที่ผ่านมา (ร้อยละ ๒๐ ต่อปี) ๔) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า ๕๐ ต่อปี) ๕) ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า ๔๐ ต่อปี) ๖) ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ ๙๐ ต่อปี)

  44. เป้าหมายการให้บริการกระทรวงสาธารณสุขเป้าหมายการให้บริการกระทรวงสาธารณสุข ข้อ ๕ ประชาชนทุกคนในเขตเครือข่ายบริการได้รับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานทุกระดับ และเข้าถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยในเขตเครือข่ายบริการได้ ตัวชี้วัด ๑) อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน ๑๘ ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) ๒) อัตราตายทารก (ไม่เกิน ๑๕ ต่อการเกิดมีชีพพันคน) ๓) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน ๒๐ ต่อประชากรแสนคน) ๔) ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน HA (เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕ ต่อปี)

More Related