1 / 31

1203 303 การฝึกงาน สัตว ศาสตร์ 3

1203 303 การฝึกงาน สัตว ศาสตร์ 3. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม. นายภาสกร พันธ์สุวรรณ 5212401779 นายชัชวาล อย่างสุข 5212450412 นายวุฒิ พงษ์ บุญมี 5212451811.

aviva
Download Presentation

1203 303 การฝึกงาน สัตว ศาสตร์ 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1203 303 การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3

  2. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม • นายภาสกร พันธ์สุวรรณ 5212401779 • นายชัชวาล อย่างสุข 5212450412 • นายวุฒิพงษ์ บุญมี 5212451811

  3. ช่วงระยะเวลาการฝึกงาน19 มีนาคม – 25 มีนาคม พ.ศ.2555-ช่วยกิจกรรมของทางบริษัท เบทาโกรเกษตรอุตสาหกรรรม จำกัด-ช่วยจัดพิธีการเปิดโรงแปรรูปสุกร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น

  4. 26 มีนาคม – 27 เมษายน 2555 ฝึกงานที่ ฟาร์มไก่สาว ชื่อฟาร์ม เสริม โนนปู่ และฟาร์ม วสันต์ วิชัยโย เลขที่ 100 หมู่ 4 ต.ท่าศาลา อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น

  5. กิจกรรมในระยะเวลาการฝึกงาน(ไก่สาว)lomunm1.เรียนรู้ระบบการจัดการฟาร์มระยะการเลี้ยงไก่สาวทั้งหมด17 week หรือ 119 วัน2.การจัดเตรียมโรงเรือน3.การลงลูกไก่4.การให้วัคซีน5.ระบบการเลี้ยง6.การจับไก่

  6. การจัดการไก่สาว ระยะเวลาไก่สาวในแต่ละช่วงอายุ 1.ลูกไก่อายุ 1-4 สัปดาห์ 2.ไก่สาวอายุ 8 สัปดาห์ 3.ไก่สาวอายุ 14 สัปดาห์ เน้นการจัดการในเรื่องของน้ำหนักไก่และเปรียบเทียบน้ำหนักไก่สาว

  7. 1.เรียนรู้ระบบการจัดการไก่สาวระยะการเลี้ยงไก่สาวทั้งหมด17 week หรือ 119 วัน

  8. 2.การจัดเตรียมโรงเรือน2.การจัดเตรียมโรงเรือน

  9. การเตรียมเล้าไก่สาว 1.เอาขี้ไก่ออกทิ้งไว้ประมาณ 3 วัน 2.พ้นยาฆ่าแมลงแล้วทิ้งไว้ 2 วัน 3.ล้างอุปกรณ์ต่างๆและล้างเล้าไก่ 4.ฆ่าเชื้อครั้งที่ 1 5.อบพื้น 1-2 วัน (พักเล้า) 6.ฆ่าเชื้อครั้งที่ 2 7.โรยปูนขาว 8.เอาแกลบเข้าเล้า 9.ตั้งกกลูกไก่ 10.พ้นยาฆ่าเชื้อครั้งที่ 3 11.ก่อนนำลูกไก่มาลงให้ฆ่าเชื้ออีก 1 รอบ แต่พ้นในปริมาณที่ไม่รุนแรง

  10. การตั้งหัวกกไก่ และการเช็คแกลบ -แกลบที่ดีต้องอยู่ในความสูงระหว่าง 5-7 ซม. อุณหภูมิที่ 35 องศาเซลเซียส ภายในสามวันแรก หลังจากนั้นจะค่อยลดลงมาเป็น 33,31,และ30 องศาเซลเซียส ภายใน 1 อาทิตย์ -การตรวจเช็คหัวกกลูกไก่จะต้องตรวจดูว่ามีไฟรุกออกมาหรือไม่ หากพบว่าไฟรุกควรเปลี่ยนหัวกกทันที -หมายเหตุ การใช้พัดลม ของลูกเล้า การเอาแผงกั้นลง

  11. 3.การตั้งหัวกก ก่อนการลงลูกไก่

  12. 4.การให้วัคซีน

  13. การให้วัคซีนสามด่านน้อยการให้วัคซีนสามด่านน้อย

  14. 5.ระบบการเลี้ยง

  15. 6.การจับไก่

  16. 27 เมษายน –10 พฤษภาคม 2555 • ฝึกงานที่ฟาร์มสุกรแม่พันธุ์ ชื่อฟาร์ม วรรณพรรณ ฟาร์ม เลขที่ 127 หมู่ 10 บ้านหนองบัวน้อย ต.หนองตูม อ.เมือง จ.ขอนแก่น

  17. กิจกรรมในระยะเวลาการฝึกงานสุกรแม่พันธุ์1.เรียนรู้ระบบการจัดการฟาร์มระยะการเลี้ยงสุกรแม่พันธุ์2.การจัดเตรียมโรงเรือน4.การให้วัคซีนสุกรแม่พันธุ์ และลูกสุกร5.ระบบการเลี้ยง6.การจับลูกสุกรเพื่อนำไปเลี้ยงเป็นสุกรขุนและการจัดการคัดทิ้งสุกรแม่พันธุ์

  18. การจัดการเล้าผสม

  19. การเช็คสัด • การเช็คสัด คือการตรวจดูว่าสุกรที่เราผสมไปนั้นตั้งท้องหรือไม่ ให้เริ่มตรวจตั้งแต่ 18 วันหลังผสม หากพบว่าสุกรที่ผสมไปกลับมาเป็นสัดให้นำกลับมาผสมได้ทันทีการกระตุ้นสัด คือ การกระตุ้นสุกรสาว สุกรหย่านม หรือสุกรสาวที่รับเข้าแล้วเกิน 24 วันยังไม่พบอาการเป็นสัด การกระตุ้นทำได้โดยขังสุกรตกค้าง

  20. การเช็คสัด การกระตุ้นสัด 07.00-07.30น.

  21. การจัดชุดผสมเทียมและการผสมเทียมสุกรการจัดชุดผสมเทียมและการผสมเทียมสุกร

  22. การล้างทำความสะอาดแม่สุกร และโรงเรือน

  23. การให้อาหารสุกรในแต่ละช่วงอายุการอุ้มท้องการให้อาหารสุกรในแต่ละช่วงอายุการอุ้มท้อง

  24. ขั้นตอนการทำเล้าคลอด

  25. การจัดการกับลูกสุกรแรกเกิดการจัดการกับลูกสุกรแรกเกิด • 1 การทำคลอด • 2 การให้วัคซีนธาตุเหล็กกับลูกสุกร • 3 การตัดเคี้ยว • 4 การตัดหาง • 5 การหนีบเบอร์หู • 6 การชั่งน้ำหนักลูกสุกร ( 3-4กิโลกรัม)

More Related