1 / 23

กำเนิดส ปี ชีส์ (origin of species)

กำเนิดส ปี ชีส์ (origin of species). สปีชีส์. สปีชีส์ ( Species) คือ สิ่งมีชีวิตที่มียีนพูล (gene pool) ร่วมกัน สามารถสืบพันธุ์กันได้ มีการถ่ายเทยีนในประชากรที่มียีนพูลเดียวกัน Speciation เป็นกลไกที่ก่อให้เกิด ความหลากหลายทางชีวภาพ. ขั้นตอนการเกิดสปีชีส์ใหม่.

ataret
Download Presentation

กำเนิดส ปี ชีส์ (origin of species)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กำเนิดสปีชีส์(origin of species)

  2. สปีชีส์ • สปีชีส์ (Species) คือ สิ่งมีชีวิตที่มียีนพูล (gene pool) ร่วมกัน สามารถสืบพันธุ์กันได้ มีการถ่ายเทยีนในประชากรที่มียีนพูลเดียวกัน • Speciation เป็นกลไกที่ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ

  3. ขั้นตอนการเกิดสปีชีส์ใหม่ขั้นตอนการเกิดสปีชีส์ใหม่ 1. ประชากรมีการแบ่งแยกจากกัน ทำให้ไม่มีการผสมระหว่างสมาชิกแต่ละกลุ่ม จนมีความต่างทางพันธุกรรม 2. มีการพัฒนากลไกแบ่งแยกทางการสืบพันธุ์ขึ้นมา 3. RIMS พัฒนาสมบูรณ์จนไม่สามารถผสมกันได้เลย

  4. สปีชีส์ใหม่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของสปีชีส์เดิม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นผลจาก • การแยกกันทางการสืบพันธุ์ • การแยกกันทางสภาพภูมิศาสตร์ • การเปลี่ยนแปลงจำนวนโครโมโซม

  5. Morphological species Morphological species หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างในลักษณะโครงสร้าง เป็นแนวคิดศึกษาด้านอนุกรมวิธาน Biological species หมายถึง กลุ่มประชากรที่สมาชิกของกลุ่ม สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันแล้วให้รุ่นลูกที่สมบูรณ์พันธุ์

  6. Reproductive Isolation Mechanisms กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ • กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์ก่อนระยะไซโกต (Prezygotic mechanism) ได้แก่ 1.1 การแบ่งโดยภูมิศาสตร์ ที่อยู่อาศัย 1.2 พฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี 1.3 ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์ 1.4 โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ 1.5 สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์

  7. Prezygotic mechanism

  8. กลไกการแยกกันทางการสืบพันธุ์หลังระยะไซโกต (Postzygotic mechanism) เป็นการป้องกันไม่ให้มีการถ่ายทอดยีนไปยังรุ่นต่อไป 2.1 ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์ 2.2 ลูกผสมเป็นหมัน 2.3 ลูกผสมล้มเหลว อาจจะสามารถเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ได้ แต่เมื่อผสมไปหลาย ๆ รุ่นแล้วจะเริ่มเป็นหมันและอ่อนแอมากขึ้น

  9. แนวทางการเกิดสปีชีส์ใหม่แนวทางการเกิดสปีชีส์ใหม่ • การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์(Allopatric speciation) • การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน (Sympatric speciation)

  10. Allopatric Speciation

  11. Sympatric Speciation apple maggot flies apples hawthorns

  12. Speciation by Reduction of Gene Flow Diploid (2n) Tetraploid (4n)

  13. Speciation by hybridization

  14. Speciation by ploidy changes

More Related