1 / 81

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ จุลทรรศน์ศาสตร์

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ จุลทรรศน์ศาสตร์. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์. ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) การตรวจอุจจาระ ( Stool exam ) การตรวจหา Occult blood ในอุจจาระ การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

arleen
Download Presentation

การตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ จุลทรรศน์ศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์

  2. การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์ ประกอบด้วยการตรวจวิเคราะห์ดังนี้ • การตรวจปัสสาวะ ( Urinalysis ) • การตรวจอุจจาระ ( Stool exam ) • การตรวจหา Occult blood ในอุจจาระ • การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( Fluid cell count )

  3. การตรวจน้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( Body fluid Analysis )

  4. ของเหลวในร่างกาย ( Body fluid ) • ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์เลี้ยงภายในร่างกายจะมีน้ำ เป็นส่วนประกอบเป็นส่วนใหญ่

  5. ของเหลวในร่างกาย ( Body fluid ) • น้ำในร่างกายสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. น้ำที่อยู่นอกเซลล์ ( Extracellular fluid ) 2. น้ำที่อยู่ภายในเซลล์ ( Intracellular fluid )

  6. น้ำที่อยู่นอกเซลล์ ( Extracellular fluid ) • เป็นน้ำที่อยู่นอกเยื่อหุ้มเซลล์ • เช่นน้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์ และน้ำที่อยู่ในเส้นเลือดและเส้นนน้ำเหลือง เป็นต้น • ทำหน้าที่รักษาสภาพแวดล้อมภายนอกเซลล์ให้คงที่ • แบ่งออกได้ 3 ส่วนคือ

  7. น้ำที่อยู่นอกเซลล์ ( Extracellular fluid ) 1. น้ำเลือด ( Plasma ) 2. น้ำเหลือง ( Lymph ) 3. น้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์ ( Intercellular fluid )

  8. น้ำเลือด ( plasma ) คือน้ำที่อยู่ในระบบหมุนเวียนของเลือด มีอยู่ประมาณ 4-5 % ของน้ำหนักตัว

  9. น้ำเหลือง ( Lymph ) คือน้ำที่อยู่ภายในท่อน้ำเหลือง ซึ่งจะไหลเวียนเข้าสู่ระบบเส้นเลือดดำเข้าหัวใจ มีประมาณ 2-3%

  10. น้ำที่อยู่ระหว่างเซลล์ ( Intercellular fluid ) เป็นน้ำที่อยู่รอบๆเซลล์ หรือน้ำตามช่องว่างระหว่างงเซลล์ มีหน้าที่ช่วยทำให้เยื่อหุ้มเซลล์ชุ่มชื้นอยู่เสมอ เพื่อช่วยในการนำสารอาหารเข้าสู่เซลล์และนำของเสียออกขากเซลล์ มีประมาณ 16-20%

  11. น้ำที่อยู่ภายในเซลล์ ( Intracellular fluid ) • คือน้ำที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ทั้งหมด • มีความสำคัญในการเมตาโบลิซึม • มีประมาณ 20-40%

  12. น้ำจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ( Body Fluid ) • น้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid , CSF ) • น้ำไขข้อ ( Synovial fluid ) • น้ำคร่ำ ( Amniotic fluid ) • Semen , Seminal fluid

  13. น้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid , CSF ) • น้ำในไขสันหลังคือของเหลวใส • มีส่วนประกอบคล้ายกับน้ำเลือดและของเหลวที่อยู่ระหว่างงเซลล์ แต่มีปริมาณโปรตีน กลูโคสและโปแตสเซี่ยมอิออนต่ำกว่า อาจมีพวกเซลล์เม็ดเลือดขาวอยู่บ้าง

  14. น้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid , CSF ) • หน้าที่สำคัญของน้ำไขสันหลัง คือ เป็นกันชนไม่ให้สมองและไขสันหลังได้รับการกระทบกระเทือนจากภายนอก รวมทั้งยังทำหน้าที่ในการขนส่งอาหารและลำเลียงของเสียต่าง ๆ ออกจากสมองด้วย • หล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง • น้ำไขสันหลังสามารถนำมาใช้ตรวจดูการติดเชื้อในระบบบประสาทส่วนกลางได้

  15. น้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid , CSF ) • ในผู้ใหญ่จะมีปริมาณน้ำไขสันหลังประมาณ 90 – 150 มล. • ในเด็กเล็กจะมีปริมาณ 10 – 60 มล.

  16. น้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid , CSF ) • ปกติน้ำไขสันหลังจะใส ไม่มีเลือดปน ไม่มีเซลล์ • ถ้ามีอาจเป็นความผิดปกติจริงของผู้ป่วย • แต่ก็อาจมาจากการเจาะเก็บตัวอย่างไม่ดี มีเลือดปนหรือการ contaminate การตรวจพบและรายงานค่าอาจผิดพลาดได้ • ความผิดปกติจากการบาดเจ็บ มีการอักเสบและการติดเชื้อ ที่ไขสันหลัง ทำให้ลักษณะสีเปลี่ยน เช่นชมพูแดงจากบาดเจ็บมีเลือดปน ขุ่นขาวจากหนองหรือ

  17. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination ) • มีประโยชน์มากในการช่วยวินิจฉัย พยากรณ์โรค และการรักษา • ถ้าพบสิ่งผิดปกติ แสดงถึงความรุนแรงของโรคได้ หรืออาจพบสาเหตุของโรคได้

  18. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination )

  19. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination )

  20. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination ) • สามารถเก็บน้ำไขสันหลังมาตรวจได้ครั้งละประมาณ 10 – 20 มล. • โดยปกติ CSF ที่ได้หลังการเจาะ ควรใส่ในขวดที่ปราศจากเชื้อ แล้วแบ่งเป็นส่วน ๆ ตามลำดับ ส่วนละ 2-3 มล. ประมาณ 3 ส่วน โดยแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ เพื่อส่งตรวจวิเคราะห์ ดังนี้

  21. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination ) ขวดที่ 1 สำหรับส่งตรวจทางเคมี และอิมมูโนวิทยา ขวดที่ 2 สำหรับส่งตรวจจุลชีววิทยา ขวดที่ 3 สำหรับนับจำนวนของเซลล์และนับแยกชนิด ของเซลล์

  22. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination ) • เมื่อเก็บน้ำไขสันหลังได้แล้ว ควรรีบนำส่งห้องปฏิบัติการ และทำการตรวจวิเคราะห์โดยเร็วภายใน 1 ชั่วโมง • ไม่ควรตั้งทิ้งไว้เกิน 1 ชั่วโมง • เพราะเซลล์ที่อยู่ในน้ำไขสันหลังแตกสลายได้ง่าย

  23. การตรวจน้ำไขสันหลัง ( Cerebrospinal fluid examination , CSF examination ) แบ่งการตรวจได้ดังนี้ • การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) • การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ ( Microscopic examination ) • การตรวจทางเคมี ( Chemical examination )

  24. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) ลักษณะของ CSF ปกติ • ใส ไม่มีสี • ไม่มีตะกอน • ไม่แข็งตัวเมื่อตั้งทิ้งไว้ • มีความหนืดเท่ากับน้ำ

  25. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) • การสังเกตดูลักษณะความผิดปกติของน้ำไขสันหลัง ให้สังเกต สี ความขุ่น การมีเลือดปน รวมทั้งการเกิด clotted

  26. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) ความผิดปกติที่อาจพบได้คือ • CSF ขุ่น เนื่องจากมีเม็ดเลือดปนอยู่ • ถ้ามีเม็ดเลือดแดง มากกว่า 400 เซลล์/ลบ.มม. ฃ • เม็ดเลือดขาวมากกว่า 200 เซลล์/ลบ.มม. • จะมองเห็นความขุ่นได้ด้วยตาเปล่า

  27. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) • ความขุ่นที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากมีเชื้อโรคปนอยู่ก็ได้ เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ยีสต์

  28. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) • สี CSF ที่ผิดปกติ เช่น มีสีเหลืองใส เนื่องจาก Bilirubin และสารที่ได้จากการสลายตัวของ Hemoglobin • สีของน้ำไขสันหลังที่มีเลือดปน จะมีสีแดง ชมพู เหลือง • CSF มีเลือดปน อาจเกิดจากการเจาะ • มี Lipid-like substance ปน ซึ่งอาจจะเป็นผลจากมีการทำลายของเนื้อสมอง

  29. การตรวจด้วยตาเปล่า ( Macroscopic examination ) • CSF แข็งตัว ( Clotted ) เมื่อตั้งทิ้งไว้ เนื่องจากมี protein พวก Fibrinogen สูงหรือมีเลือดปนมาก

  30. การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ ( Microscopic examination ) ประกอบด้วย • การนับเซลล์ ( Cell count ) • การนับแยกชนิดของเม็ดเลือกขาว ( WBC differencial cell count )

  31. การนับเซลล์ ( Cell count ) • ควรทำทันทีอย่างช้าไม่เกิน 1 ชั่วโมงหลังเจาะ มิฉะนั้นเซลล์จะเริ่มแตกทำให้การนับค่าผิดพลาดไปได้

  32. การนับเซลล์ ( Cell count ) • จะนับจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวและเซลล์เม็ดเลือดแดง

  33. การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ • รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นจำนวนเซลล์ เม็ดเลือดขาวที่นับได้ ( cells/cu.mm ) • รายงานผลการตรวจวิเคราะห์เป็นจำนวนเซลล์ เม็ดเลือดแดงที่นับได้ ( cells/cu.mm )

  34. การนับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว( WBC differential ) เป็นการทดสอบที่สำคัญมาก เพราะจะช่วยบอกพยาธิสภาพต่าง ๆ

  35. ผลการตรวจวิเคราะห์ • ปกติ 60 – 100% จะเป็นเซลล์พวก Lymphocyte , Monocyte • เซลล์ปกติที่จะไม่พบใน CSF ได้แก่ Neutrophil , Eosinophil • ถ้าพบเซลล์เหล่านี้อาจเกิดจาก Minigitis , Helminthic parasites, การอักเสบ ติดเชื้อ

  36. การตรวจทางเคมี ประกอบด้วย - การตรวจหา Protein ค่าปกติประมาณ 20 – 50 มก./ดล. - การตรวจหา Glucose

  37. การตรวจทางเคมี - การตรวจหา Protein ค่าปกติประมาณ 20 – 50 มก./ดล.

  38. การตรวจทางเคมี การตรวจหา Glucose • ควรทำควบคู่กับการตรวจระดับน้ำตาลในพลาสมาด้วยกันนเสมอ • ระดับน้ำตาลที่สูงกว่าปกติไม่มีนัยสำคัญ เนื่องจากอาจเป็นผลกระทบจากปริมาณน้ำตาลในพลาสมาที่สูงขึ้น

  39. การตรวจอื่น ๆ • การย้อมเชื้อโรค และการเพาะเชื้อ • ควรทำทุกรายเมื่อพบว่า CSF มีเม็ดเลือดขาวมากกว่าปกติ

  40. น้ำไขข้อ ( Synovial fluid ) • เป็นของเหลวเหนียวข้นที่พบอยู่ในข้อต่อตามส่วนต่างๆของร่างกาย • ทำหน้าที่ช่วยลดการกระแทกของข้อต่อ

  41. น้ำไขข้อ ( Synovial fluid )

  42. Effusion

  43. Effusion • ร่างกายคนเราโดยปกติอวัยวะภายในทั้งหลายจะมีเยื่อ connective tissue หุ้มอยู่คล้ายเป็นถุง ซึ่งด้านในจะมีเซลล์บุ • การที่อวัยวะภายในมีเยื่อหุ้มไว้นี้ ทำให้เกิดลักษณะเป็น cavity ซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ • Pericardial cavity ( ช่องหัวใจ ) • Pleural cavity ( ช่องปอด ) • Peritoneal cavity ( ช่องท้อง )

  44. Effusion • ในแต่ละ cavity จะมีของเหลวอยู่น้อยมาก เพียงพอที่จะช่วยให้อวัยวะภายในเคลื่อนไหวได้สะดวกเท่านั้น • โดยของเหลวในแต่ละ cavity จะมีปริมาณ ดังนี้ • Pericardial cavity มีประมาณ 20-50 มล. • Pleural cavity มีประมาณ 30 มล. • Peritoneal cavity มีประมาณ 100 มล.

  45. Effusion ถ้ามีพยาธิสภาพใดก็ตาม มีผลทำให้มีของเหลวผ่านเข้ามาในช่องว่างเหล่านี้เพิ่มขึ้น จะเกิดการสะสมปริมาณของของเหลวเพิ่มขึ้นจนเกินปริมาณปกติ เรียกว่า การเกิด Effusion

  46. Effusion • ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า Effusion คือ สารน้ำหรือของเหลวที่ซึมผ่านนเข้าไปใน cavity ต่าง ๆ ของร่างกาย • เราเรียก Effusion ตามตำแหน่งที่เกิดขึ้นดังนี้ - Pericardial effusion - Pleural effusion - Peritoneal effusion( Ascites )

  47. Effusion • น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ( Pleural effusion ) • น้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ ( Pericardial effusion ) • น้ำในช้องท้อง ( Peritoneal effusion , Ascites )

  48. น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ( Pleural effusion ) • น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ( Pleural effusion ) เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดลามออกมาถึงเยื่อหุ้มปอด • จำนวนน้ำมีได้ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงมาก • ถ้ามีไม่มากก็อาจหายเองได้ • ในรายที่มีจำนวนมากจนทำให้เกิดอาการหอบจะต้องทำการรักษาโดยการเจาะดูดเอาน้ำออก

More Related