1 / 64

โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009. ผู้ป่วย (ณ วันที่ 6 ก.ค. 52) ใน 136 ประเทศ 94,512 ราย เสียชีวิต 429 ราย (ที่มา : WHO). อัตราป่วยตายของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A (H1N1) 28 เมย. – 15 มิย. 2552. 6.8 %. อัตราป่วยตาย %. 0.4 %. วันที่รายงาน พศ 2552. 17 มิย. 2552.

Download Presentation

โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่2009โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่2009

  2. ผู้ป่วย (ณ วันที่ 6 ก.ค.52) ใน 136 ประเทศ 94,512 ราย เสียชีวิต 429 ราย (ที่มา : WHO)

  3. อัตราป่วยตายของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A (H1N1)28 เมย. – 15 มิย. 2552 6.8 % อัตราป่วยตาย % 0.4 % วันที่รายงาน พศ 2552 17 มิย. 2552

  4. สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ของไทยสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ของไทย ข้อมูล ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2552 พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1เอ็น1 จำนวน 69 จังหวัด ผู้ป่วยยืนยันรวม 4,469 ราย เสียชีวิต 24 ราย (คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.53) สถานการณ์โรค ติดตามได้จากเว็บไซต์ กระทรวงสาธารณสุข www.moph.go.th

  5. แผนที่แสดงจำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิดเอ (H1N1) รายจังหวัดใน 69 จังหวัด(28 เมษายน -9 กรกฎาคม 2552)

  6. กลุ่มอายุของผู้ป่วยยืนยันจำแนกตามวันเริ่มป่วยกลุ่มอายุของผู้ป่วยยืนยันจำแนกตามวันเริ่มป่วย ที่มา : สำนักระบาดวิทยา มักพบผู้ป่วย ในกลุ่มอายุ 11-20 ปี รองลงมาได้แก่ กลุ่ม 6-10 ปี

  7. เปรียบเทียบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ A (H1N1) กับไข้หวัดใหญ่ธรรมดา (ตามฤดูกาล) 17 มิย. 2552

  8. ข้อเปรียบเทียบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์เก่า-ใหม่ A/H1N1

  9. จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ธรรมดา(Seasonal influenza) ในแต่ละปี (ข้อมูลประมาณการ) * Mark Simmerman et al, 2009 17 มิย. 2552

  10. จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ธรรมดา(Seasonal influenza) ในแต่ละปี (ข้อมูลประมาณการ) * Mark Simmerman et al, 2009 17 มิย. 2552

  11. ไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Pandemic flu) ไข้หวัดใหญ่ ตามฤดูกาล (Seasonal flu)

  12. ครม. เห็นชอบ 10 กค. 2550 คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการอำนวยการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ไข้หวัดนกและ การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ (รองนายกฯ) แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2553)

  13. ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ ลูกไก่กลายเป็นอินทรี ไข้หวัดนก 1 Aug 07

  14. ตาย 260,000 มีผลกระทบ ทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างใหญ่หลวง ตาย 65,000 ป่วย 26,000,000 ป่วย 6,500,000 ป่วย 10%ของประชากร อัตราป่วยตาย 1% ป่วย 40%ของประชากร อัตราป่วยตาย 1% คาดการณ์ขั้นสูง คาดการณ์ขั้นต่ำ ถ้า....เกิดการระบาดใหญ่ในประเทศไทย

  15. การเตรียมความพร้อมโดย ความร่วมมือพหุภาคี Multi-sector cooperation ภาคเอกชน Private ภาครัฐ Public ภาคบริการพื้นฐาน (Essential services) พลังงาน ไฟฟ้า น้ำประปา ขนส่ง คมนาคม สื่อสาร / IT การเงิน / ธนาคาร รักษาความปลอดภัย 22 Aug 07

  16. การเตรียมพร้อม รับการระบาดใหญ่ ใช้หลายยุทธศาสตร์ ยาต้านไวรัส วัคซีน การดูแลผู้ป่วย อุปกรณ์ป้องกันตัว ด้านการ แพทย์/เวชภัณฑ์ (Medical/Pharma.) ส่งเสริมอนามัยบุคคล จำกัดการเดินทาง แยกกักผู้สัมผัสโรค จำกัดกิจกรรมทางสังคม ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ ด้านสาธารณสุข/สังคม (Non-Pharmaceutical) ด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social and economic systems - to keep the society running) รักษาความมั่นคง / กฎหมาย จัดหาอาหารและน้ำดื่ม จ่ายพลังงาน เชื้อเพลิง บริการคมนาคมขนส่ง บริการสื่อสารโทรคมนาคม จัดระบบการเงิน ธนาคาร Source: David Nabarro at APEC-HMM, Sydney 8 June 2007

  17. ฝึกซ้อมปฏิบัติการ Drills ฝึกซ้อมบนโต๊ะ Tabletop Exercise การเตรียมความพร้อมด้านสาธารณสุขในระยะต้นการซ้อมความพร้อมรับการระบาดใหญ่ ส่วนกลาง (central) ระดับจังหวัด (Provincial) ระดับหน่วยงาน (service centers) 22 Aug 07

  18. ระดับกรม เริ่ม มีนาคม 49 ทำแล้ว 60 จว. ระดับจังหวัด เมื่อรัฐบาลพร้อม ปฏิทินการ ซ้อมแผนบนโต๊ะ ระดับประเทศ 8 มีค. 50 ระดับกระทรวง เริ่ม กค.. 49 20 dec 06

  19. แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2553) คณะกรรมการอำนวยการป้องกัน ควบคุม แก้ไขสถานการณ์โรคไข้หวัดนก และการเตรียมพร้อมสำหรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ รอง นรม. เป็นประธาน การเตรียมพร้อมต่อการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ตามนโยบายเตรียมพร้อมแห่งชาติ นโยบายเตรียมพร้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2548 คณะกรรมการเตรียมพร้อมแห่งชาติ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) นรม. หรือรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนแห่งชาติ พ.ศ. 2548

  20. การเตรียมความพร้อมภาคธุรกิจ/รัฐวิสาหกิจการเตรียมความพร้อมภาคธุรกิจ/รัฐวิสาหกิจ 29 May 08

  21. ผู้ป่วย (ณ วันที่ 6 ก.ค.52) ใน 136 ประเทศ 94,512 ราย เสียชีวิต 429 ราย (ที่มา : WHO)

  22. การตอบสนองต่อสถานการณ์ทั่วโลก (1) องค์การอนามัยโลกเร่งประสานการผลิตวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ H1N1 ทั่วโลกมีการเตรียมพร้อม/ปฏิบัติตามแผนงานสำหรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ หลายประเทศออกประกาศแนะนำหลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศที่เป็นแหล่งโรค และมีมาตรการคัดกรองผู้เดินทางระหว่างประเทศ เอเชีย มีการเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางเข้าประเทศอย่างใกล้ชิด บางแห่งมีการกักกันผู้เดินทางจากพื้นที่ระบาดไว้ที่โรงแรม ในขณะที่สหรัฐอเมริกาและยุโรป มิได้มีมาตรการใดเป็นพิเศษบริเวณสนามบิน

  23. การตอบสนองต่อสถานการณ์ทั่วโลก (2) บางประเทศประกาศหยุดราชการ/ห้ามการชุมนุม ในพื้นที่ระบาดระยะสั้น ซึ่งต่อมา เมื่อการระบาดกระจายไปกว้างขวาง จึงยกเลิกมาตรการนี้ อพยพคนจากพื้นที่ระบาด ลดเที่ยวบินไปยังพื้นที่ระบาด สำรองยาต้านไวรัส (โอเซลทามิเวียร์) แจกจ่ายยา/อุปกรณ์ป้องกันให้ประชาชน จำกัดการนำเข้าสุกร/ผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมทั้งบางแห่งทำลายสุกร

  24. Health Protection Agency / UK • Doctors will now diagnose cases on the basis of clinical observation rather than laboratory testing. • Routine swabbing of suspected cases and tracing of close contacts will now stop. • The established surveillance systems will be used to monitor the spread and incidence of the virus. • People diagnosed with swine flu should stay at home while they have symptoms, to avoid spreading the infection.

  25. Public Health Agency / Canada PHAC's recommendations for the use of antivirals? • Antivirals (AVs) should be used to treat H1N1 Flu Virus when the illness is moderate to severe and the patient is at a great risk for complications, antivirals should not be used for a mild disease or for preventive purposes at this time. The reasons for this are: • There is no sufficient information to suggest that this virus requires the use of AVs. • Most patients in Canada are recovering well on their own. • The virus could be resistant to AVs if overused to treat mild illness. • The AV stockpile is a finite resource. We want to be sure not to run out before they are really needed.

  26. USA : CDC What You Can Do to Stay Healthy • Stay informed.. • Influenza is thought to spread mainly person-to-person through coughing or sneezing of infected people. • Take everyday actions to stay healthy. • Cover your nose and mouth with a tissue when you cough or sneeze. Throw the tissue in the trash after you use it. • Wash your hands often with soap and water, especially after you cough or sneeze. Alcohol-based hands cleaners are also effective. • Avoid touching your eyes, nose or mouth. Germs spread that way. • Stay home if you get sick.. • Follow public health advice regarding school closures, avoiding crowds and other social distancing measures.

  27. Australia: Department of Health and Aging Key elements of the new Phase of PROTECT are: • A focus on early treatment of people who may be vulnerable to severe outcomes. These people include pregnant women and those with respiratory disease (asthma, COPD), heart disease, diabetes, renal disease, morbid obesity, and immunosuppression. 2. Identification and early treatment of those with moderate or severe disease especially in people with respiratory difficulty. 3. Control of outbreaks in institutional settings, such as special schools. 4. Voluntary home isolation for those with mild disease with supportive treatment only, such as over the counter medication. 5. Testing would be directed to identification of Pandemic (H1N1) 2009 in people with moderate or severe illness, people more vulnerable to severe illness or those in institutional settings.

  28. Singapore Singapore adjusts anti-flu measures while cases continue to rise in Asia Monday, 13 July 2009 Singapore's Health Ministry announced on Friday new measures to combat influenza H1N1, as infected cases continued to rise in the Asian region. Singapore's Health Ministry said that temperature screening in bid to prevent the spread of Influenza A/H1N1 at local border checkpoints will be discontinued with effect from this Saturday(11 July 2009).

  29. WHO ASEAN plus 3 EID info. 13 July 2009 Earlier this week, the World Health Organization (WHO) informed that countries are no longer required to submit regular reports of individual laboratory-confirmed cases and deaths, which is because the reporting of such numbers is no longer a useful monitoring tool.

  30. 32 21 14 9 โรงเรียน ก. บริษัท ข. โรงงาน ค. ผู้เดินทางที่ติดเชื้อ แต่ยังไม่มีไข้ ผ่านเข้าประเทศ 14 กค. 2552

  31. ระยะปัจจุบัน (C) 32 21 14 9 ระยะต่อมา (B) (ต้น–กลาง มิย.) ระยะแรก (A) (ปลายเมย. – พค.) ผู้เดินทางที่ติดเชื้อ แต่ยังไม่มีไข้ ผ่านเข้าประเทศ 4 มิย. 2552

  32. กลุ่มเสี่ยงที่จะมีการระบาดของโรคในวงกว้างกลุ่มเสี่ยงที่จะมีการระบาดของโรคในวงกว้าง บ้าน โรงเรียน นักท่องเที่ยว ค่ายทหาร เรือนจำ สำนักงาน โรงงาน สถานที่สาธารณะ

  33. นายกรัฐมนตรี ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน คณะกรรมการอำนวยการฯ (รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน) ประสานกับองค์กรระหว่างประเทศ/ นานาชาติ WHO US CDC ….… กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) โครงสร้างคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกันและควบคุมแก้ไขสถานการณ์การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ในปัจจุบัน (รองนรม.พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ เป็นประธาน)

  34. คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการอำนวยการฯระดับชาติ (รองนายกฯ สนั่น) คณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษาด้านการแพทย์ และสาธารสุข คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนฯ (สธ.) คณะอนุกรรมการเผยแพร่ ปชส.(กปส.)

  35. ยุทธศาสตร์ของไทยต่อไข้หวัดใหญ่ H1N1 ในสถานการณ์ระยะต่างๆ สถานการณ์ A มีผู้ติดเชื้อจากต่างประเทศ เดินทางเข้าประเทศ เป้าหมาย ป้องกันการแพร่เชื้อในประเทศ ยุทธศาสตร์หลัก คัดกรองผู้เดินทาง เฝ้าระวังโรคค้นหาผู้ป่วย ดูแลรักษาผู้ป่วย เฝ้าติดตามผู้สัมผัสโรค สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เตรียมเข้าสถานการณ์ B ควบคุม จำกัด (Contain) ชะลอ ลดผลกระทบ (Mitigate) ระดับ 6 การระบาดในต่างประเทศ อาจอยู่ในระยะ ระดับ 5 หรือ ระดับ 6 ระดับ 5 • สถานการณ์ B • เกิดการระบาดในประเทศ ในวงจำกัด • เป้าหมาย ควบคุมการระบาดให้อยู่ในวงแคบที่สุด • ยุทธศาสตร์หลัก • เฝ้าระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย เฝ้าติดตามผู้สัมผัสโรค • รักษาผู้ป่วย แนะนำดูแลที่บ้าน • สุขศึกษา ปชส. ส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันโรค • แยกตัว / ลดกิจกรรมทางสังคม พร้อมการป้องกันโรค • เตรียมพร้อมเข้าสถานการณ์ C • สถานการณ์ C • การระบาดในประเทศ ขยายวงกว้าง • เป้าหมาย บรรเทาความรุนแรง & ลดผลกระทบของการระบาด • ยุทธศาสตร์หลัก • รักษาผู้ป่วย / ดูแลที่บ้าน • สุขศึกษา ปชส.เสริมสุขภาพจิต • มาตรการด้านชุมชน/สังคม • ดูแลสาธารณูปโภคไม่ให้ชะงัก • ประคองกิจการ รัฐ / เอกชน • พยุงเศรษฐกิจ รักษาความสงบ • ใช้วัคซีน (ถ้ามี) ค้นหา สกัดกั้น (detect)

  36. หากทุกฝ่าย ช่วยกัน ป้องกันโรคควบคุมการระบาดให้อยู่ในวงจำกัด เป้าหมายการจัดการปัญหาไข้หวัดใหญ่ H1N1 การป้องกันและ ควบคุมโรค ช่วง เมย. – พค. ช่วย ชะลอการระบาดใน ประเทศประมาณ 6 สัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยในแต่ละวัน วัน นับตั้งแต่เริ่มมีผู้ป่วยรายแรก หน่วยงานต่างๆ และประชาชน มีโอกาสเตรียมตัว ทุกฝ่ายไม่ตระหนก ประชาชนรู้วิธีป้องกันโรค โรงเรียนและธุรกิจปรับตัวรับได้ มีผลกระทบน้อย 17 มิย. 2552

  37. ปัญหาการระบาดที่สำคัญในช่วง พค. – มิย. 2552 • การระบาดใน รร. สถานศึกษา รร.ตระหนก ทะยอยปิดเรียน • การติดเชื้อ และแพร่โรคจากผับ สถานเริงรมย์ ในแหล่งท่องเทียว กระจายไปหลายจังหวัด • การระบาดในค่ายทหาร เรือนจำ (สถานสงเคราะห์ หอพัก โรงงาน สถานประกอบการ) • การแพร่เชื้อที่บ้านของผู้ป่วย • ประชาชนทั่วไป ยังสับสน ไม่มั่นใจ จำนวนผู้ป่วยในแต่ละวัน 17 มิย. 2552

  38. คณะรัฐมนตรี แผนปฏิบัติการ แม่บทฯ คณะกรรมการอำนวยการแก้ไขปัญหาไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ (รองนายกฯ) แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2553)

  39. ยุทธศาสตร์และมาตรการหลักเพื่อความร่วมมือพหุภาคี เพื่อป้องกันและแก้ไขการระบาดไข้หวัดใหญ่ H1N1 1 กค. 2552

  40. (สรุปย่อ)ยุทธศาสตร์และมาตรการหลักเพื่อความร่วมมือพหุภาคีเพื่อป้องกันและแก้ไขการระบาดไข้หวัดใหญ่ H1N1 1 กค. 2552

  41. (ร่าง)แนวทางแก้ไขปัญหาสำคัญในการระบาดของไข้หวัดใหญ่(ร่าง)แนวทางแก้ไขปัญหาสำคัญในการระบาดของไข้หวัดใหญ่ 1 กค. 2552

  42. ผู้เสียชีวิต เพิ่มขึ้นทุกวัน ประชาชนตระหนก • ลดจำนวนผู้เสียชีวิต โดย • ให้ยาอย่างเหมาะสม (ให้ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง / มีอาการมาก) • จัดช่องทางด่วนที่ รพ. • พัฒนาระบบบริการใน รพ. ผู้ป่วยตระหนก ระดมเข้า รพ. เกินกำลังระบบ สธ. • ลดจำนวนผู้ป่วยเข้า รพ. โดย • เผยแพร่ข้อมูล ให้ความรู้ ปชช. • สร้างความมั่นใจ ให้ผู้ป่วยที่มี • อาการน้อยดูแลตนเองที่บ้าน • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรคที่บ้าน • ลดจำนวนผู้ติดเชื้อ/ป่วย โดย • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรค • ลดการสัมผัสระหว่างบุคคล • (Social distancing) • ให้วัคซีน (ถ้ามี) ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ปชช.ไม่มั่นใจ

  43. ผู้เสียชีวิต เพิ่มขึ้นทุกวัน ประชาชนตระหนก • ลดจำนวนผู้เสียชีวิต โดย • ให้ยาอย่างเหมาะสม (ให้ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง / มีอาการมาก) • จัดช่องทางด่วนที่ รพ. • พัฒนาระบบบริการใน รพ. ผู้ป่วยตระหนก ระดมเข้า รพ. เกินกำลังระบบ สธ. • ลดจำนวนผู้ป่วยเข้า รพ. โดย • เผยแพร่ข้อมูล ให้ความรู้ ปชช. • สร้างความมั่นใจ ให้ผู้ป่วยที่มี • อาการน้อยดูแลตนเองที่บ้าน • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรคที่บ้าน • ลดจำนวนผู้ติดเชื้อ/ป่วย โดย • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรค • ลดการสัมผัสระหว่างบุคคล • (Social distancing) • ให้วัคซีน (ถ้ามี) ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ปชช. ไม่มั่นใจ

  44. ลดจำนวนผู้เสียชีวิต โดย • ให้ยาอย่างเหมาะสม (ให้ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง / อาการมาก) • จัดช่องทางด่วนที่ รพ. • พัฒนาระบบบริการใน รพ. • ลดจำนวนผู้ป่วยเข้า รพ. โดย • เผยแพร่ข้อมูล ให้ความรู้ ปชช. • สร้างความมั่นใจ ให้ผู้ป่วยที่มี • อาการน้อยดูแลตนเองที่บ้าน • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรคที่บ้าน • ลดจำนวนผู้ติดเชื้อ/ป่วย โดย • เสริมพฤติกรรมป้องกันโรค • ลดการสัมผัสระหว่างบุคคล • (Social distancing) • ให้วัคซีน (ถ้ามี) • การปรับยุทธศาสตร์ • 1 ปรับปรุงการดูแลรักษาผู้ป่วย • จัดช่องทางด่วน ปรับระบบบริการที่ รพ. • ให้ยาอย่างเหมาะสม • ชันสูตรเท่าที่จำเป็น • 2 ปรับปรุงการป้องกันโรค • เร่งป้องกันโรคในโรงเรียน สถานประกอบการ ค่ายทหาร สถานบันเทิง • ส่งเสริมการทำเครื่องมือป้องกันโรคใช้เอง • ปรับแผนตามระดับความรุนแรงของการระบาด • 3 ปรับปรุงการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ • ทำแผนยุทธศาสตร์ / จัดระบบการให้ข่าวสาร • ขยายการเผยแพร่ ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ

  45. ร่วมมือแข็งขัน ฝ่าฟันอุปสรรค • การปรับยุทธศาสตร์ • 1 ปรับปรุงการดูแลรักษาผู้ป่วย • จัดช่องทางด่วน ปรับระบบบริการที่ รพ. • ให้ยาอย่างเหมาะสม • ชันสูตรเท่าที่จำเป็น • 2 ปรับปรุงการป้องกันโรค • เร่งป้องกันโรคในโรงเรียน สถานประกอบการ ค่ายทหาร สถานบันเทิง • ส่งเสริมการทำเครื่องมือป้องกันโรคใช้เอง • ปรับแผนตามระดับความรุนแรงของการระบาด • 3 ปรับปรุงการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ • ทำแผนยุทธศาสตร์ / จัดระบบการให้ข่าวสาร • ขยายการเผยแพร่ ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ

  46. (ร่าง) การปรับยุทธศาสตร์

  47. ประมาณการเบื้องต้นจำนวนผู้ป่วยและ เสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ H1N1 ในการระบาดรอบแรก (หากไม่มีมาตรการ) เสียชีวิต 1,200 (1% ของปอดบวม) ปอดบวม130,000 (4% ของผู้ป่วยนอก) ผู้ป่วยนอก3,400,000 (20% ของผู้มีอาการป่วย) มีอาการป่วย15,000,000 (50% ของผู้ติดเชื้อ) ไม่มีอาการป่วย15,000,000 (50% ของผู้ติดเชื้อ) ผู้ติดเชื้อ 30,000,000 (50% ของประชากร)

  48. การรักษา ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที ซึ่งแพทย์จะพิจารณาให้ยาต้านไวรัส คือ ยาโอเซลทามิเวียร์ (oseltamivir) เป็นยาชนิดกิน หากผู้ป่วยได้รับยาภายใน 2 วันหลังเริ่มป่วย จะให้ผลการรักษาดี

More Related