1 / 63

การแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน (Practical PDCA)

การแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน (Practical PDCA). ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Deming Cycle. การปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้ตามเป้าหมาย ที่วางไว้. การวางแผน. การนำแผนมาปฏิบัติ. การติดตามผลการปฏิบัติ. ศัตรูของธุรกิจ 5 ประการ. ของเสีย ความผิดพลาด ความล่าช้า ความสิ้นเปลือง

albert
Download Presentation

การแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน (Practical PDCA)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน(Practical PDCA) ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS.

  2. Deming Cycle การปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้ตามเป้าหมาย ที่วางไว้ การวางแผน การนำแผนมาปฏิบัติ การติดตามผลการปฏิบัติ Excellence Training Institution

  3. ศัตรูของธุรกิจ 5 ประการ • ของเสีย • ความผิดพลาด • ความล่าช้า • ความสิ้นเปลือง • อุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บ Excellence Training Institution

  4. การสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันการสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน • เล่นเกมที่ตนถนัด (Focus) • การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) • ต้นทุนต่ำ (Overall Cost Leadership) • ตอบสนองอย่างรวดเร็ว (Quick Response) Excellence Training Institution

  5. เครื่องมือคุณภาพเพื่อการปฏิบัติเครื่องมือคุณภาพเพื่อการปฏิบัติ • ผังการดำเนินงาน (Flow-chart) • แผนภูมิฮีสโตแกรม (Histogram) • ผังพาเรโต (Pareto Chart) • ผังก้างปลา (Fishbone Diagram) Excellence Training Institution

  6. เครื่องมือคุณภาพเพื่อการปฏิบัติเครื่องมือคุณภาพเพื่อการปฏิบัติ • แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet) • แผนภูมิควบคุม (Control Chart) • แผนภูมิกระจาย (Scatter Diagram) • เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming) Excellence Training Institution

  7. กระบวนการแก้ปัญหาและปรับปรุงงานกระบวนการแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน • เลือกหัวข้อที่จะศึกษา • เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล • ระบุสาเหตุต้นตอ • กำหนดแนวทางปรับปรุงและลงมือปฏิบัติ Excellence Training Institution

  8. กระบวนการแก้ปัญหาและปรับปรุงงานกระบวนการแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน • ประเมินแนวทางแก้ไข • จัดทำมาตรฐาน • บันทึกผลความพยายามและเลือกหัวข้อศึกษาใหม่ Excellence Training Institution

  9. การวางแผน (Plan) ขั้นที่ 1 เลือกหัวข้อที่จะศึกษา • คัดเลือกกระบวนการที่จะแก้ปัญหาและปรับปรุง • ระบุลูกค้า • แต่งตั้งทีมงานแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน Excellence Training Institution

  10. 1.1. การคัดเลือกกระบวนการ • กระบวนการ คือกิจกรรมที่เปลี่ยนปัจจัยนำเข้า ให้เป็นผลผลิต โดยผลผลิตที่ผ่านกระบวนการมาแล้วจะต้องมีมูลค่ามากกว่าปัจจัยการผลิต • เจ้าของกระบวนการซึ่งเป็นผู้คุ้นเคยกับวิธีการทำงานของกระบวนการ ควรพิจารณาร่วมกับทีมงานแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน Excellence Training Institution

  11. กระบวนการผลิต (Transitional Process) ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) การป้อนกลับ(Feedback) Excellence Training Institution

  12. ตัวอย่างประเด็นปัญหา: ระดับสินค้าหรือบริการ • ลูกค้าร้องเรียนเรื่องอายุการใช้งานของสินค้า • การบำรุงรักษาสินค้าทำได้ยาก • การให้บริการหลังการขายล่าช้า • สินค้าขาดคุณภาพ • การให้บริการหน่วยงานอื่นๆ ในองค์กรมีปัญหา Excellence Training Institution

  13. ตัวอย่างประเด็นปัญหา: กลยุทธ์ระดับแผนก • พื้นที่ในการปฏิบัติงานมีน้อย • ระเบียบปฏิบัติซับซ้อน ไม่ชัดเจน • กระบวนการทำงานล่าช้า • ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสูง • มีของเสียในกระบวนการผลิตมาก Excellence Training Institution

  14. ตัวอย่างประเด็นปัญหา: กลยุทธ์องค์การ • เป้าหมายและวัตถุประสงค์องค์การไม่สามารถตอบสนองความสามารถในการทำกำไรขององค์การ • แผนการปฏิบัติงานประจำปีไม่เป็นไปตามเป้าหมาย • วัตถุประสงค์ของแผนกไม่สอดคล้องเป้าหมายรวมขององค์การ Excellence Training Institution

  15. แนวทางปฏิบัติ: การคัดเลือกกระบวนการ • เขียนกระบวนการที่คัดเลือกที่จะแก้ปัญหา แยกแบบฟอร์มสำหรับแต่ละกระบวนการ • เขียนเหตุผลในการคัดเลือกกระบวนการดังกล่าว • เขียนเป้าหมายในการแก้ปัญหา • ระบุผลที่จะได้รับจากกิจกรรมการแก้ปัญหา • ระบุผลที่จะได้รับจากลูกค้าหลังจากการแก้ปัญหา Excellence Training Institution

  16. 1.2. ระบุลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้องการ • ใครเป็นคนตัดสินใจในการซื้อสินค้าหรือบริการ • ความแตกต่างระหว่างคุณภาพที่ลูกค้าต้องการ กับที่พนักงานเข้าใจ • คุณภาพของสินค้าที่นำเสนอลูกค้าสอดคล้องกับคุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ • ความรู้เกี่ยวกับการใช้สินค้าของลูกค้า ใช้เกณฑ์อะไรทดสอบ Excellence Training Institution

  17. แนวทางปฏิบัติ: ระบุลูกค้า • แจกคำถามพร้อมแบบฟอร์มให้กับสมาชิก โดยขอให้ทุกคนตอบคำถามทุกข้อ และกรอกแบบฟอร์มให้สมบูรณ์ • แลกเปลี่ยนคำตอบของสมาชิกแต่ละคน พร้อมข้อมูลที่กรอกในแบบฟอร์ม • อภิปรายสรุปพร้อมบันทึกข้อสรุปที่ได้ ลงในแบบฟอร์มใหม่ Excellence Training Institution

  18. 1.2. ระบุลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้องการ • องค์การได้ใช้ประโยชน์จากข้อร้องเรียนของลูกค้าเพื่อเรียนรู้ความผิดปรกติของลูกค้าหรือไม่ • ลูกค้าพึงพอใจกับสินค้าหรือบริการหรือไม่ เพราะอะไร • ลูกค้าขององค์การในปัจจุบันยังคงเป็นลูกค้าต่อไปในอนาคตหรือไม่ เพราะเหตุใด Excellence Training Institution

  19. ทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้าทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้า • ใช้แบบฟอร์มสัมภาษณ์เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลูกค้า • ใช้แบบประเมินสินค้าและบริการ เพื่อการประเมินความต้องการของลูกค้า Excellence Training Institution

  20. แนวทางปฏิบัติ: ทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้า • รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าจากฐานข้อมูล • ใช้แบบฟอร์ม “ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลูกค้า” ประกอบการพูดคุยกับลูกค้า เพื่อทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้า • ใช้ “แบบฟอร์มสัมภาษณ์ลูกค้า” เพื่อช่วยในการพูดคุย • กรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มให้สมบูรณ์ • บันทึกข้อมูลให้ตรงกับที่ลูกค้าให้สัมภาษณ์ Excellence Training Institution

  21. แนวทางปฏิบัติ: แบบประเมินสินค้าและบริการ • เขียนชื่อลูกค้า และสินค้าลงในแบบฟอร์ม แบบฟอร์ม 1 ใบสำหรับลูกค้า 1 ราย ประเมินสินค้า 1 ชนิด • ระบุคุณลักษณะของสินค้าและบริการตามที่เข้าใจหลังจากสัมภาษณ์ลูกค้า และเพิ่มเติมตามความเหมาะสม • ให้ลูกค้าประเมินระดับความสำคัญ และระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับคุณลักษณะแต่ละข้อ Excellence Training Institution

  22. แนวทางปฏิบัติ: แบบประเมินสินค้าและบริการ • อธิบายเหตุผลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประเมินคุณลักษณะสินค้า/บริการ • อภิปรายผลการสัมภาษณ์ โดยการจัดทำค่าเฉลี่ย และใช้กราฟในการประเมิน ทีมงานควรมุ่งแก้ปัญหาและปรับปรุงคุณลักษณะที่ได้รับความสำคัญมากที่สุด (4-5) แต่ได้รับความพึงพอใจน้อยที่สุด (1-2) Excellence Training Institution

  23. การประเมินความต้องการของลูกค้าการประเมินความต้องการของลูกค้า 5 เป้าหมายในการ ยกระดับความสำคัญ เป้าหมายที่ควร รักษาระดับไว้ ความพึงพอใจ 3 ไม่ใช่เป้าหมายในการ แก้ปัญหาและปรับปรุงงาน เป้าหมายในการ แก้ปัญหาและปรับปรุงงาน 1 1 3 5 ความสำคัญ Excellence Training Institution

  24. 1.3. แต่งตั้งทีมงานแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน • ใช้แบบฟอร์ม “รายชื่อสมาชิกทีมงานแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน” เพื่อบันทึกข้อมูล รายละเอียดของสมาชิกหลังจากมีการรวมตัวกันขึ้น และผู้บริหารแต่งตั้ง Excellence Training Institution

  25. การประชุมทีมงานและแผนปฏิบัติงานการประชุมทีมงานและแผนปฏิบัติงาน • ควรนัดประชุมทีมงานแบบไม่เป็นทางการ สัปดาห์ละ 1-2 ชั่วโมง เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงานตามขั้นตอน PDCA • การประชุมทุกครั้งควรมุ่งเน้นให้การประชุมมีประสิทธิผล Excellence Training Institution

  26. การประชุมที่มีประสิทธิผลการประชุมที่มีประสิทธิผล • มีวาระการประชุมที่ทุกคนทราบล่วงหน้า และจัดทำรูปแบบวาระการประชุม และรายงานการประชุม • จดบันทึกการประชุมทุกครั้ง • มีการแก้ไขกราฟ หรือข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกครั้ง • ส่งบันทึกการประชุมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ Excellence Training Institution

  27. การประชุมที่มีประสิทธิผลการประชุมที่มีประสิทธิผล • รักษาเวลาการประชุม • ทุกคนควรแสดงความคิดเห็นได้เท่าเทียมกัน • การประชุมมีรูปแบบไม่เป็นทางการ แต่ได้เนื้อหาสาระครบถ้วนทุกครั้ง • ทุกคนต่างช่วยกันให้ข้อมูล และสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับหัวข้อที่ยังไม่เข้าใจชัดเจน Excellence Training Institution

  28. การวางแผน (Plan) ขั้นที่ 2 เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล • กำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน • วางแผนและเก็บรวบรวมข้อมูล • ตั้งคำถามเพื่อการวิเคราะห์ • วิเคราะห์หาสาเหตุด้านคุณภาพ Excellence Training Institution

  29. 2.1. กำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงาน • ตัวชี้วัดด้านผลผลิต (Output Measures) • ตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์ (Outcome Measures) • ตัวชี้วัดด้านกระบวนการ (Process Measures) Excellence Training Institution

  30. ผลสัมฤทธิ์ของงาน ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes) Excellence Training Institution

  31. ผลสัมฤทธิ์ของงาน (Results or Performance) • ผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ผลลัพธ์ที่สามารถสร้างออกมาได้ เมื่อเทียบกับเป้าหมาย หรือจุดมุ่งหมาย • ผลงานมีหลายระดับ ตั้งแต่ผลงานส่วนบุคคล ผลงานของหน่วยงาน หรือแม้กระทั่งผลประกอบการระดับองค์กร Excellence Training Institution

  32. ตัววัดด้านผลผลิต (Output) • ผลผลิต หมายถึงงาน บริการ หรือกิจกรรมที่เจ้าหน้าที่ทำเสร็จสมบูรณ์พร้อมส่งมอบให้ลูกค้า • ผลผลิตเป็นผลงานที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมของหน่วยงานโดยตรง เช่น คุณภาพสินค้า ราคา เวลาในการส่งมอบ เป็นต้น Excellence Training Institution

  33. ตัววัดด้านผลลัพธ์ (Outcome) • ผลลัพธ์ หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นติดตามมา ผลกระทบ หรือ เงื่อนไขที่เกิดจากผลผลิต หรือวัดปฏิกิริยาของลูกค้า • ผลลัพธ์มีความสัมพันธ์โดยตรงกับลูกค้า ผู้รับบริการ เช่น ความพึงพอใจในการใช้สินค้า/บริการ หรือการตอบรับการซื้อซ้ำ เป็นต้น Excellence Training Institution

  34. ตัววัดด้านกระบวนการ (Process) • หมายถึง ตัววัดความปรกติหรือผิดปรกติที่เกิดขึ้นกับกระบวนการ เช่น จำนวนชิ้นงานที่เสีย เวลารอคอยชิ้นงาน เวลาในการตั้งค่าของเครื่องจักร Excellence Training Institution

  35. แนวทางปฏิบัติ: การกำหนดตัวชี้วัด • อธิบายเป้าหมายของการแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน • เขียนตัววัดด้านผลลัพธ์ รวมทั้งวิธีการเก็บข้อมูลและการวัดผล • เขียนตัววัดด้านผลผลิต ซึ่งเชื่อมโยงกับเป้าหมายในการแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน Excellence Training Institution

  36. แนวทางปฏิบัติ: การกำหนดตัวชี้วัด • เขียนเป้าหมายในการแก้ปัญหาและปรับปรุงกระบวนการ • บันทึกความผิดปรกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการที่กำลังศึกษา • เขียนตัวชี้วัดด้านกระบวนการทั้งที่ใช้อยู่ และที่กำหนดขึ้นใหม่ Excellence Training Institution

  37. 2.2. วางแผนและเก็บรวบรวมข้อมูล • แบบฟอร์มการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัววัดแต่ละตัว • แผ่นตรวจสอบ ใช้เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดความผิดปรกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน • แผนภูมิพาเรโต ช่วยให้เข้าใจการกระจายความผิดปรกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน Excellence Training Institution

  38. แนวทางปฏิบัติ: แผนการเก็บรวบรวมข้อมูล • อธิบายข้อมูลที่จะจัดเก็บ แยกแบบฟอร์มสำหรับตัววัดแต่ละตัว • ระบุวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดในการเก็บ เช่น จำนวน จุดทศนิยม • ระบุระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล • ระบุสถานที่ในการเก็บข้อมูล และผู้เก็บรวบรวมข้อมูล Excellence Training Institution

  39. แนวทางปฏิบัติ: แบบฟอร์มการเก็บรวบรวมข้อมูล • เขียนประเภทตัววัดพร้อมคำอธิบายรายละเอียด • ระบุค่าตัวเลขเกี่ยวกับตัววัดในคอลัมน์ “ผลการวัด” • บันทึกวันที่ เวลา สถานที่ที่ทำการวัด • บันทึกชื่อผู้เก็บข้อมูล • ใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้สำหรับการวิเคราะห์ต่อไป Excellence Training Institution

  40. แนวทางปฏิบัติ: แผ่นตรวจสอบ • กำหนดประเภทของตัววัด • ข้อมูลประเภทต่อเนื่อง เช่นน้ำหนัก ความดัน ระบุเป็นช่วงการวัดใน “ช่วงข้อมูล” • ประเภทข้อมูลเฉพาะ บันทึกเป็นประเภทตัววัด • ระบุวัน และจำนวนครั้งที่ตรวจสอบได้ • คำนวณผลรวมของจำนวนครั้ง และนำไปใช้สรุปด้วยแผนภูมิพาเรโต หรือฮีสโตแกรม Excellence Training Institution

  41. แนวทางปฏิบัติ: แผนภูมิพาเรโต • ระบุหัวข้อหรือตัววัดที่จะทำการศึกษาเปรียบเทียบ • เขียนประเภทของตัววัด ระบุจำนวนครั้งในคอลัมน์ “ความถี่” และคำนวณร้อยละ • จัดลำดับประเภทตัววัดจากมากไปหาน้อย • วาดผลลงในกระดาษกราฟ เขียนประเภทข้อมูลบนแกน X และช่วงความถี่บนแกน Y Excellence Training Institution

  42. แนวทางปฏิบัติ: แผนภูมิพาเรโต • เขียนกราฟตามลำดับความถี่ ซึ่งได้จัดลำดับไว้แล้วในช่อง “ลำดับที่” โดยกราฟที่มีความถี่สูงสุดจะอยู่ซ้ายสุด และลดระดับมาโดยลำดับทางขวามือ Excellence Training Institution

  43. 2.3. ตั้งคำถามเพื่อการวิเคราะห์ ตัวอย่างคำถามเพื่อการวิเคราะห์ • อัตราของเสียที่มีสาเหตุมาจากวัตถุดิบคือเท่าไร • ชิ้นงานแต่ละชิ้นต้องใช้เวลาผลิตนานเท่าไร • ความหนาของชิ้นงานควรเป็นเท่าไร • ความเบี่ยงเบนเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอหรือไม่ Excellence Training Institution

  44. 2.4. วิเคราะห์สาเหตุด้านคุณภาพ เกณฑ์ที่ลูกค้าใช้ตัดสินคุณค่าของสินค้าหรือบริการ • คุณลักษณะของสินค้าหรือบริการ • ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับบริษัท • ราคา • การส่งมอบ Excellence Training Institution

  45. การวางแผน (Plan) ขั้นที่ 3 ระบุสาเหตุต้นตอ • เขียนผังการดำเนินงาน • ประเมินหาสาเหตุที่เป็นไปได้ Excellence Training Institution

  46. สัญลักษณ์ของผังการดำเนินงานสัญลักษณ์ของผังการดำเนินงาน ซัพพลายเออร์ หรือลูกค้า นอกกระบวนการ ให้เขียนชื่อซัพพลายเออร์ หรือลูกค้าในรูปสี่เหลี่ยม ขั้นตอนต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ รายละเอียดขั้นตอนควรเขียน เริ่มด้วยคำกริยา การส่งต่อปัจจัยนำเข้าสู่ผลิตผลระหว่างซัพพลายเออร์ ขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการ และลูกค้า Excellence Training Institution

  47. สัญลักษณ์ของผังการดำเนินงานสัญลักษณ์ของผังการดำเนินงาน การจัดเก็บ หรอชิ้นงานที่รอให้ดำเนินการต่อไป ขั้นตอนการอนุมัติ หรือการพิจารณา มักจะเขียนด้วยคำว่า ตรวจสอบ หรือทดสอบ วงกลมแรเงา แสดงขั้นตอนที่ไม่จำเป็นต้องมีในผังการดำเนินงาน เนื่องจากไม่สร้างมูลค่าเพิ่มใดๆ ให้กับกระบวนการเลย Excellence Training Institution

  48. 3.2. ประเมินหาสาเหตุที่เป็นไปได้ • แบบฟอร์มระดมสมอง เพื่อบันทึกความคิดเห็นของสมาชิกแต่ละคนในทีมระหว่างการระดมสมอง • แบบฟอร์มการลงคะแนนสองชั้น เพื่อลดจำนวนความคิดเห็นที่ได้จากการระดมสมอง • ผังก้างปลา เพื่ออธิบายสาเหตุที่เป็นไปได้ของหัวข้อที่ศึกษา Excellence Training Institution

  49. ปัจจัย ปัจจัย สาเหตุรอง สาเหตุย่อย สาเหตุหลัก ปัญหา สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก Fishbone Diagram ปัจจัย ปัจจัย Excellence Training Institution

  50. การปฏิบัติ (Do) ขั้นที่ 4 กำหนดแนวทางปรับปรุงและลงมือปฏิบัติ • ศึกษาผลกระทบ • สรุปแนวทางแก้ปัญหาและปรับปรุงงาน • ระบุผู้สนับสนุน • พัฒนาแผนการลงมือปฏิบัติ • ปฏิบัติด้วยวิธีการใหม่ Excellence Training Institution

More Related