1 / 28

โรคติดเชื้อ ไวรัส โคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 และแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน

โรคติดเชื้อ ไวรัส โคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 และแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559). ร.ต.อ.รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 1.

aine
Download Presentation

โรคติดเชื้อ ไวรัส โคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 และแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 และแผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) • ร.ต.อ.รุ่งเรือง กิจผาติ • ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค • กระทรวงสาธารณสุข 1

  2. สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 และการเตรียมความพร้อมรับมือของประเทศไทย ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 พบผู้ป่วยยืนยันทั้งสิ้น 108 ราย เสียชีวิต 50 ราย (อัตราป่วยตาย ร้อยละ 46.30) 2

  3. 3

  4. เชื้อก่อโรค :เชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 ลักษณะโรค :ขณะนี้ มีการติดเชื้อจากคนสู่คนในกลุ่มผู้ป่วยด้วยกันหลายกลุ่มโดยพบในกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วย สมาชิกในครอบครัวเดียวกัน และระหว่างเพื่อน และขณะนี้ ยังไม่มีการแพร่กระจายของเชื้อในชุมชน ระยะฟักตัวของโรค : โดยเฉลี่ยมีระยะฟักตัวเฉลี่ย ตั้งแต่ 10 วันขั้นไป(http://www.who.int/csr/disease/coronavirus_infections/update_20130813/en/) วิธีการแพร่โรค : ยังไม่มีข้อมูลที่ระบุได้ว่า คนติดเชื้อไวรัสนี้ได้อย่างไร ขณะนี้ยังคงดำเนินการสอบสวนโรค เพื่อหาแหล่งที่มาของเชื้อไวรัส (source of the virus) ลักษณะของการสัมผัสที่จะนำโรคที่จะนำไปสู่การติดเชื้อ (types of exposure that lead to infection) ช่องทางการติดต่อของโรค (mode of transmission) ลักษณะอาการทางคลินิก (clinical pattern) และสาเหตุของการเกิดโรค (course of disease) 4

  5. การป้องกัน : • หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ที่มีอาการป่วย ไม่นำสัตว์ป่วยไปประกอบอาหาร • รักษาสุขอนามัยขั้นพื้นฐานของส่วนบุคคล • - ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย • - หลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่แออัด หรือที่ชุมชนมีคนอยู่เป็นจํานวนมาก • - ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอ หรือจาม • - ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี 5

  6. พบรายงานจาก 9 ประเทศ ได้แก่ จอร์แดน ซาอุดิอาระเบีย***กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี ตูนีเซีย และอิตาลี • สำหรับประเทศไทย “ยังไม่พบ” การแพร่ระบาดของโรค • คนไทยที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ในเดือน ก.ย. - พ.ย. 56 ประมาณ 13,000 คน 80% อยู่ใน 14 จังหวัดของภาคใต้ 5 จังหวัดหลัก ได้แก่นราธิวาส , ปัตตานี , ยะลา , สงขลา , สตูล 20 % กระจายในภาคอื่นๆ ประเทศไทย 6

  7. คำแนะนำของกสธ.ไทย สำหรับผู้แสวงบุญที่จะเดินทางไปยังประเทศซาอุดิอาระเบีย • ปฏิบัติตามคำแนะนำของทางการซาอุดิอาระเบีย • กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ควรเลื่อนการเดินทางไปร่วมพิธีอุมเราะห์และฮัจญ์ ในปีนี้ (ฮิจญ์เราะฮ์ศักราช1434) • ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่ ภายหลังการไอ จาม • หากมีอาการไอหรือจาม ให้ใช้กระดาษทิชชูปิดปาก และทิ้งในถังขยะที่จัดไว้ หลีกเลี่ยงการนำมือมาสัมผัสที่ตา จมูก ปาก โดยตรง • หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ และหลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกัน

  8. คำแนะนำของกสธ.สำหรับผู้แสวงบุญที่จะเดินทางไปยังประเทศซาอุดิอาระเบีย (ต่อ) • เมื่อจะเข้าไปในสถานที่มีผู้คนแออัด ให้สวมหน้ากากอนามัย และปฏิบัติตามสุขอนามัยทั่วไป • รับการฉีดวัคซีนตามข้อกำหนด • หากมีอาการป่วยในขณะที่อยู่ประเทศซาอุดิอาระเบีย หรือเมื่อเดินทางกลับประเทศไทยแล้ว ให้รีบไปพบแพทย์ พร้อมแจ้งประวัติการเดินทาง

  9. การแพร่ระบาดทั่วโลก เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพในทุกประเทศ • ความเสี่ยงของการเกิดโรครุนแรงขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและพฤติกรรมมนุษย์ การเดินทาง การค้าระหว่างประเทศ ภาวะโลกร้อน การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • ระบาดมาจากต่างถิ่น ต่างชาติ และไร้พรมแดน • ผลกระทบเป็นวงกว้าง หลายด้าน หลายประเทศ • การป้องกันควบคุมโรค ... มีความยุ่งยากซับซ้อน สภาพปัญหา / ความเสี่ยง 7

  10. ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการระบาดของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 • ผลกระทบด้านสุขภาพ • การสนับสนุนทางด้านการรักษาพยาบาลไม่เพียงพอบุคลากรป่วย โรงพยาบาลไม่เพียงพอต่อผู้ป่วย • ผลกระทบทางเศรษฐกิจ • การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคลดลง • ผลกระทบต่อการส่งออก • รายได้จากการท่องเที่ยว • ผลกระทบทางสังคม • ประชาชนหยุดงาน เนื่องจากการป่วย • โรงเรียนและธุรกิจต่างๆ อาจต้องหยุดกิจการชั่วคราว • เกิดการขาดแคลนอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภค • ผลกระทบความมั่นคงของประเทศ 8

  11. ทำไมต้องจัดทำแผนยุทธศาสตร์...ชาติ ??? • ลดการป่วย การตาย และผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม • บริหารจัดการโรคติดต่ออุบัติใหม่แบบบูรณาการ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน • ใช้เป็นแผนแม่บท ให้หน่วยงานต่างๆ ได้ร่วมขับเคลื่อนและจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 9

  12. ผ่านความเห็นชอบจาก ครม. เมื่อวันที่ 28 ส.ค. 55 แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ. 2556 - 2559) 10

  13. สรุปสาระสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ฯสรุปสาระสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ฯ 11

  14. ยุทธศาสตร์ที่ 1 สุขภาพหนึ่งเดียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 สัตว์ปลอดโรค ยุทธศาสตร์ที่ 3 จัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 สื่อสารความเสี่ยง การติดตามประเมินผล การดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ภาครัฐ (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น) แผนปฏิบัติการแม่บท แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน/โครงการ ภาคเอกชน IHR 2005/APSED/ASEAN การจัดทำแผนประคองกิจการ ภาคประชาชน การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ การมีส่วนร่วมของประชาชน/ภาคีเครือข่าย กฎระเบียบ/งบประมาณ/ประชาสัมพันธ์ 12

  15. คณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกันคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ รองนายกรัฐมนตรี (ประธาน) คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาและควบคุมโรค ภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่าให้ปลอดโรค คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา คณะอนุกรรมการ ป้องกัน ควบคุม และแก้ไข การดื้อยาต้านจุลชีพฯ คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนแผนฯ คณะอนุกรรมการที่ปรึกษาด้านวิชาการและยุทธศาสตร์ฯ 13

  16. สาธารณสุข แรงงาน พาณิชย์ การมีส่วนร่วม จากหลายภาคส่วน การเงิน/เงินทุน การศึกษา ความปลอดภัย การบริการ ที่สำคัญ อื่นๆ การมีส่วนร่วมป้องกันควบคุมโรคของทุกภาคส่วน 14

  17. การจัดการฝึกซ้อมแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 ในรูปแบบ การฝึกปฏิบัติการตามบทบาทหน้าที่ (Functional Exercise (Modified)) ความเสี่ยงสำหรับประเทศไทย :ชาวไทยผู้นับถือศาสนาอิสลามในประเทศไทยเดินทางไปเข้าร่วมพิธีฮัจญ์ ในพื้นที่ตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 15

  18. กลุ่มเป้าหมาย : ระดับอธิบดี/เทียบเท่า จาก 10 กระทรวง 1 กทม. ประกอบด้วย 1. กระทรวงสาธารณสุข (สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค) 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมปศุสัตว์) 3. กระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) 4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช) 5. กระทรวงการต่างประเทศ (กรมการกงศุล) 6. กรมประชาสัมพันธ์ 7. กระทรวงคมนาคม (กรมการขนส่งทางบก กรมการขนส่งทางอากาศ) 8. กระทรวงวัฒนธรรม (กรมการศาสนา) 9. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 10. สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร 11. กระทรวงศึกษาธิการ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) 16

  19. ผู้สังเกตการณ์

  20. คณะทำงานจัดการฝึกซ้อมแผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 2. คณะทำงานด้านวิชาการ หัวหน้า : ผอ.สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรม คร. เลขานุการ :พญ.วรยา เหลืองอ่อน สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรม คร. 1. คณะทำงานด้านการอำนวยการ หัวหน้า : อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เลขานุการ :ผอ.ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย กรม ปภ. 3. คณะทำงานด้านการออกแบบ และควบคุมการจัดการฝึกซ้อม หัวหน้า :ผอ.ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย กรม ปภ. เลขานุการ :ผอ.ส่วนอำนวยการ ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย กรม ปภ. 4. คณะทำงานด้านการสนับสนุนการฝึกซ้อม หัวหน้า : ผอ.สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เลขานุการ :นางสาวมีนา ชูใจ สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 5. คณะทำงานด้านการประชาสัมพันธ์การฝึกซ้อม หัวหน้า :ผอ.สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข เลขานุการ :นางสาวอรุณรุ่ง ศรีรัตนารัตน์ สำนักงานเลขานุการกรม กรม คร. 6. คณะทำงานด้านการประเมินผลการฝึกซ้อม หัวหน้า :นพ.สุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย ผู้ตรวจราชการกระทรวง สธ. เลขานุการ :นพ.สมบัติ แทนประเสริฐสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค 17

  21. บทบาทหน้าที่หลักหน่วยงานที่เข้าร่วมบทบาทหน้าที่หลักหน่วยงานที่เข้าร่วม การฝึกซ้อมแผน

  22. บทบาทหน้าที่หลัก • 1. กระทรวงสาธารณสุข • สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผน • จัดระบบเครือข่ายบริการการแพทย์ฉุกเฉินทั่วประเทศ • จัดให้มีระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็ง • ฯลฯ • 2. กระทรวงมหาดไทย • ประสานงาน สั่งการ ให้การสนับสนุนแก่จังหวัด หน่วยงานท้องถิ่น ในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ เพื่อป้องกันบรรเทาสาธารณภัย • สนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผน • ฯลฯ

  23. บทบาทหน้าที่หลัก (ต่อ) • 3. กระทรวงการต่างประเทศ • ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการคัดกรองระหว่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานหรือจุดผ่านแดน • สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับนานาประเทศเกี่ยวกับสถานการณ์โรคในประเทศไทย • ช่วยเหลือคนไทยในต่างแดน • ฯลฯ • 4. กระทรวงคมนาคม • ดำเนินการป้องกันพื้นที่ และยานพาหนะไม่ให้เป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค รวมถึงการจัดพื้นที่เฉพาะสำหรับคัดกรอง และแยกผู้ป่วย • กำหนดมาตรการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ในการใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะ • อำนวยความสะดวกในการสนับสนุนเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และผู้สงสัย • ฯลฯ

  24. บทบาทหน้าที่หลัก (ต่อ) • 5. กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์ • จัดระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในสัตว์ • จัดให้มีชุดเฉพาะกิจควบคุมโรคเฉพาะพื้นที่ • ฯลฯ • 6. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในสัตว์ป่า และสัตว์ธรรมชาติ • พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการดำรงชีวิต • ฯลฯ

  25. บทบาทหน้าที่หลัก (ต่อ) • 7. กระทรวงวัฒนธรรม • ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรม และจิตสำนึก ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค • ฯลฯ • 8. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • จัดมาตรการช่วยเหลือนักท่องเที่ยวและผู้ประสบภัย • ประชาสัมพันธ์ให้เกิดความมั่นใจแก่นักท่องเที่ยว • ฯลฯ

  26. บทบาทหน้าที่หลัก (ต่อ) • 9. กระทรวงศึกษาธิการ • จัดให้มีการเรียนการสอนในพื้นที่อพยพตามความจำเป็น • ส่งเสริมให้ นักเรียน เกิดการป้องกันควบคุมโรคในสถานศึกษา • ฯลฯ • 10. กรมประชาสัมพันธ์ • จัดทำแผนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งในภาวะปกติ และวิกฤติ • ฯลฯ

  27. บทบาทหน้าที่หลัก (ต่อ) • 11. กรุงเทพมหานคร • สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมแผน • จัดระบบเครือข่ายบริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร • จัดให้มีระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ที่เข้มแข็ง • ในกรุงเทพมหานคร • ฯลฯ

  28. ขอบคุณค่ะ

More Related