1 / 76

The structure and function of macromolecules

The structure and function of macromolecules. สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules) ในสิ่งมีชีวิต จัดเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้างของโมเลกุล ได้แก่ Carbohydrate ประกอบด้วยธาตุ C, H, O Protein “ C, H, O, N Lipid “ C, H, O Nucleic acid “ C, H, O, N, P.

ahava
Download Presentation

The structure and function of macromolecules

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The structure and function of macromolecules

  2. สารประกอบขนาดใหญ่ (macromolecules)ในสิ่งมีชีวิต จัดเป็น 4 กลุ่มตามลักษณะโครงสร้างของโมเลกุล ได้แก่ Carbohydrateประกอบด้วยธาตุ C, H, O Protein “ C, H, O, N Lipid “ C, H, O Nucleic acid “ C, H, O, N, P

  3. Building models to study the structure of macromolecules Today, scientists use computer Linus Pauling (1901-1994)

  4. ปฏิกิริยาเคมีของ macromoleculesได้แก่ Condensationเป็นปฏิกิริยาสังเคราะห์ macromoleculesจาก monomersเล็กๆเป็นจำนวนมาก และได้ผลผลิต H2Oด้วย ดังนั้นอาจเรียกว่า ปฏิกิริยา dehydration Hydrolysisเป็นปฏิกิริยาย่อยสลาย macromoleculesให้เล็กลง เพื่อให้สามารถนำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ได้ หรือย่อยสลาย macromoleculesที่ไม่ใช้แล้วภายในเซลล์

  5. The synthesis of a polymer

  6. The Breakdown of a polymer

  7. Carbohydrates • Carbohydratesเป็นสารประกอบจำพวกน้ำตาล และ polymerของน้ำตาล • แบ่งกลุ่ม carbohydratesได้เป็น 3 กลุ่ม ตามจำนวนโมเลกุลของน้ำตาลที่เป็นองค์ประกอบ ได้แก่ • Monosaccharide • Disaccharide • Polysaccharide

  8. aldehydes ketones Monosaccharide เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ที่ประกอบด้วยC, O และH มีสูตรคือ(CH2O)n โดยมีอะตอมของC ต่อกันเป็นสาย และมีCarbonyl group และhydroxy group ต่อกับอะตอมของC Carbonyl group

  9. The structure and classification of some monosaccharides

  10. Linear and ring forms of glucose

  11. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (Disaccharides) เกิดจากการรวมตัวของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุลโดยปฏิกิริยา condensation Covalent bondที่เกิดขึ้น เรียกว่า Glycosidic linkage

  12. Examples of disaccharides synthesis

  13. Polysaccharideเป็น carbohydrate ที่มีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วยmonosaccharides จำนวนมากต่อกันด้วยglycosidic linkage • ชนิดของpolysaccharide ขึ้นอยู่กับ • 1. ชนิดของmonosaccharide • 2. ชนิดของGlycosidic linkage • ตัวอย่างpolysaccharide ได้แก่starch, glycogen, cellulose และ chitin

  14. Storage polysaccharides

  15. Starch: 1-4 linkage of  glucose monomers Cellulose: 1-4 linkage of  glucose monomers

  16. Celluloseมีglucose เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับ แป้ง แต่มีพันธะแบบ1-4 glycosidic linkageผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วยcellulose เป็นจำนวนมาก

  17. The arrangement of cellulose in plant cell walls

  18. Chitin, a structural polysaccharide Chitin forms the exoskeleton of Arthropods Chitin is used to make a strong and flexible surgical thread

  19. Chitinมีโครงสร้างคล้ายกับCellulose ต่างกันที่ว่า หน่วยย่อยเป็นN-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว

  20. หน้าที่ของcarbohydrate Sugars : • ทำหน้าที่ให้พลังงานและเป็นแหล่งคาร์บอนแก่สิ่งมีชีวิต • ribose และdeoxyribose เป็นองค์ประกอบของnucleic acid • Polysaccharide : • เป็นแหล่งสะสมพลังงานของสิ่งมีชีวิต โดยพืชเก็บสะสมพลังงานในรูปของstarch ส่วนสัตว์เก็บสะสมพลังงานในรูปของglycogen • Cellulose และchitin เป็นโครงสร้างของพืชและสัตว์

  21. Lipids Diverse Hydrophobic molecules

  22. Lipids เป็นสารที่ไม่เป็นpolymer • Lipids ไม่ละลายน้ำ เนื่องจากโครงสร้างของlipids ประกอบด้วย nonpolar covalent bonds เป็นส่วนมาก • Lipids ได้แก่ • ไขมัน(Fat) • Phospholipid • Steroid • ขี้ผึ้ง(Wax)

  23. Fats : เป็นแหล่งสะสมพลังงาน • Fats ถึงแม้จะไม่เป็นpolymer แต่เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กกว่ามาต่อกันด้วยปฏิกิริยาDehydration • Fats ประกอบด้วยGlycerol และ กรดไขมัน(Fatty acid)

  24. ส่วน“tail” ของfatty acid ที่เป็นhydrocarbon ที่มักมีอะตอมคาร์บอนต่อกันประมาณ 16-18 อะตอม เป็นส่วนที่ทำให้fats ไม่ละลายน้ำ(hydrophobic)

  25. Triglycerol ไขมัน 1 โมเลกุล ประกอบด้วยGlycerol 1 โมเลกุล และ กรดไขมัน 3 โมเลกุล

  26. กรดไขมันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ • Saturated fatty acid(กรดไขมันชนิดอิ่มตัว) • Unsaturated fatty acid(กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว) • ไขมันที่ได้จากสัตว์ เช่น เนย มี saturated fatty acidเป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง • ไขมันจากพืช มี unsaturated fatty acidเป็นองค์ประกอบ มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง

  27. Saturated fat and fatty acid Unsaturated fat and fatty acid

  28. Phospholipids • เป็นองค์ประกอบหลักของcell membrane • ประกอบด้วยglycerol 1โมเลกุลfatty acid 2 โมเลกุล และphosphate group (phosphate group มีประจุ -) • มีส่วนหัวที่มีประจุ และเป็นส่วนที่ชอบน้ำ(hydrophilic) และส่วนหางที่ไม่ชอบน้ำ(hydrophobic)

  29. The structure of phospholipid

  30. Phospolipid in aqueous environments เมื่อเติมphospholipids ลงในน้ำphospholipids จะรวมตัวกัน โดยเอาส่วนหางเข้าหากัน และส่วนหัวหันออกทางด้านนอก กลายเป็นหยดเล็กๆ เรียกว่า micelle Micelle

  31. ที่cell membrane ของสิ่งมีชีวิตPhospholipids จะเรียงตัวเป็น 2 ชั้น โดยhydrophilic head จะหันออกทางด้านนอกเข้าหากัน ส่วนhydrophobic tail อยู่ตรงกลาง Phospholipid bilayer

  32. Steroids • เป็นlipids ประกอบด้วย คาร์บอนเรียงตัวเป็นวงแหวน 4 วง • Steroids ชนิดต่างๆ มีหมู่functional group ที่ต่อกับวงแหวนแตกต่างกัน • Cholesterol เป็นsteroid ที่เป็นองค์ประกอบของcell membrane

  33. Cholesterol, a steroid Cholesterol ยังเป็นprecusor สำหรับการสังเคราะห์steroid อื่นๆหลายชนิด เช่นhormones

  34. Protein • เป็น polypeptide ของamino acid ที่ต่อกันเป็นลำดับเฉพาะตัวสำหรับโปรตีนแต่ละชนิด • โปรตีนสามารถทำงานได้ ต้องมีรูปร่าง(conformation) ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว • มนุษย์มีโปรตีนมากกว่า 10,000 ชนิด แต่ละชนิดมีโครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน

  35. H O H N C C OH H R Carboxyl group Amino group Amino acid เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมู่carboxyl และหมู่amino ต่อกับอะตอมคาร์บอนที่เป็นศูนย์กลาง อะตอมที่เป็นศูนย์กลางยังต่อกับอะตอมhydrogen และหมู่ R group 1 หมู่ที่แตกต่างกัน

  36. Amino acid แบ่งออกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติของR group • R group ที่แตกต่างกันนี้ ทำให้เกิดamino acid แตกต่างกัน 20 ชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีและชีววิทยาแตกต่างกัน

  37. Amino acid กลุ่ม Nonpolar

  38. กลุ่มPolar

  39. กลุ่ม Electrically charged

  40. Making a polypeptide chain Amino acid ต่อกันเป็นสายยาวด้วยcovalent bond เรียกว่าpeptide bond

  41. ปลายที่มีหมู่amino เรียกว่าN-terminus • ปลายที่มีหมู่carboxyl เรียกว่าC-terminus

  42. สาย polypeptide ประกอบด้วยamino acid ทั้ง 20 ชนิด เรียงต่อกันเป็นอิสระ สายpolypeptideจึงสามารถมีรูปแบบที่ไม่เหมือนกันนับหมื่นชนิดได้

  43. โปรตีนสามารถทำงานได้ต้องมีรูปร่าง (conformation)ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว • โปรตีนที่ทำงานได้ประกอบด้วย polypeptide 1 สายหรือมากกว่า ซึ่งม้วนพับไปมาตามแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง side chainของ amino acid • รูปร่างของโปรตีนจึงขึ้นอยู่กับลำดับของ amino acidที่เรียงกันอยู่

  44. A protein’s function depends on its specific conformation Ribbon model Space filling model

  45. โครงสร้างของโปรตีนถูกแบ่งออกเป็นโครงสร้างของโปรตีนถูกแบ่งออกเป็น Primary structure Secondary structure Tertiary structure Quaternary structure สำหรับโปรตีนที่ประกอบด้วย polypeptide มากกว่า 1 สาย

  46. The primary structure of a protein • Primary structure คือ ลำดับของamino acid ที่ประกอบขึ้นเป็นโปรตีน • Primary structure ถูกกำหนดโดยข้อมูลทางพันธุกรรม(DNA)

  47. การเปลี่ยนแปลงลำดับamino acid ในโปรตีนอาจมีผลให้รูปร่างของโปรตีนเปลี่ยนไป และอาจมีผลต่อการทำงานของโปรตีนชนิดนั้นๆ ตัวอย่างเช่น โรคsickle-cell anemia

  48. A single amino acid substitution in a protein causes sickle-cell disease

  49. The secondary structure of a protein • Secondary structure เป็นโครงสร้างที่เกิดขึ้นจากH-bond ระหว่างหมู่carboxylและหมู่amino • Secondary structure ที่พบบ่อยในธรรมชาติได้แก่Helix และ  Pleated sheet

  50. ตัวอย่างเช่น เส้นใยแมงมุม มีโครงสร้างแบบ Pleated sheetทำให้เส้นใยแมงมุมมีความแข็งแรงมาก Spider silk: a structural protein

More Related