1 / 55

โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุน Financial and Operating Leverage

บทที่ 8. โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุน Financial and Operating Leverage. ธุรกิจจะประสบผลสำเร็จของธุรกิจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ ราคาขาย ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการดำเนินงาน ปริมาณขาย. ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริมาณ และผลกำไร

abla
Download Presentation

โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุน Financial and Operating Leverage

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 โครงสร้างของเงินทุน จุดคุ้มทุนFinancial and Operating Leverage

  2. ธุรกิจจะประสบผลสำเร็จของธุรกิจมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ • ราคาขาย • ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการดำเนินงาน • ปริมาณขาย • ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของต้นทุน ปริมาณ และผลกำไร • ต้นทุนจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ • ต้นทุนคงที่ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าเช่า เงินเดือนฝ่ายบริหาร • ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่านายหน้า ค่าแรงงาน

  3. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน(Operating Costs) • ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) • ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและขาย • ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) • เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและขาย ต้นทุนรวม ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนคงที่

  4. ซึ่งปัจจัยและต้นทุนต่างๆ ที่กล่าวมานั้นมีผลกระทบต่อกำไรของธุรกิจอย่างไร เป็นสิ่งที่จะต้องนำการวางแผนกำไรเข้ามาใช้ในการวิเคราะห์ มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ • การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (BE. Point) • การวิเคราะห์การยกระดับกำไร (Leverage) • การวิเคราะห์ระดับกำไรจากการใช้ต้นทุนคงที่(Operating Leverage) • การวิเคราะห์ระดับกำไรจากการมีเจ้าหนี้ (Financial Leverage)

  5. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน Break - Even Analysis

  6. Break - Even Analysis • จุดคุ้มทุน (Break – Even Point)คือ • ปริมาณยอดขาย (Q)ที่ทำให้กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)เท่ากับ 0 หรือ รายได้ เท่ากับ ต้นทุนรวมพอดี สูตร Q = TFC P - VC

  7. Break - Even Analysis TFC = ต้นทุนคงที่รวม Q = ปริมาณผลิต(ขาย) P = ราคาขาย/หน่วย VC = ต้นทุนผันแปร/หน่วย กำหนดให้ :

  8. Break - Even Analysis รายได้ = ต้นทุนรวม P * Q = TFC + TVC P * Q = TFC + (Q * VC/น.) PQ – VQ = TFC ดังนั้นQ ( P-VC) = TFC Q = TFC P – VC/น.

  9. Break - Even Analysis • สมมติฐานในการวิเคราะห์ : • ราคาขาย / หน่วยคงที่ • ต้นทุนผันแปร / หน่วยคงที่ • ต้นทุนคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง • ต้นทุนรวมประกอบด้วย ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร • ใช้กับการวางแผนผลิตและขายสินค้าชนิดเดียวกันหรือยอดขายเป็นชุด • ใช้สำหรับการตัดสินใจในระยะสั้นเท่านั้น (กำไรจากการดำเนินงาน = 0) ซึ่งทำให้ รายได้รวม = ต้นทุนรวม

  10. Break - Even Analysis

  11. Break-Even Point จุดคุ้มทุน • สูตร Q Breakevenทำให้ รายได้รวม = ต้นทุนรวม • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q >Q Breakevenบริษัทจะมีกำไร • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q <Q Breakevenบริษัทจะ ขาดทุน • ถ้าบริษัทขาย/ผลิต Q =Q Breakeven บริษัทจะมีเท่าทุน Q Breakeven = TFC P – VC

  12. ข้อ1.บริษัท เมย์จิวเวอรี่ P = 550 , VC = 235 , FC = 2,457,000 Q = TFC P - VC ข้อ 1.1 Q 2,457,000 (550 – 235) Q =………. หน่วย ANS คิดเป็นมูลค่า = บาท

  13. Price เพิ่มขึ้น 12 % ดังนั้น ราคาใหม่ = 550 + (550*12%) = 616 ข้อ 1.2 Q = TFC P - VC Q 2,457,000 (616 – 235) Q = ……….. หน่วย ANS

  14. FC ลดลง 10 % ดังนั้น FC ใหม่ = 2,457,000 – (2,457,000 *10%) = 2,211,300 ข้อ 1.3 Q = TFC P - VC Q = 2,211,300 (550 – 235) Q = ………. หน่วย ANS

  15. VC ลดลง 5 % ดังนั้น VC ใหม่ = 235 – (235*5%) = 223.25 ข้อ 1.4 Q = TFC P - VC Q = 2,457,000 (550 – 223.25) Q = …………. หน่วย ANS

  16. การวิเคราะห์การยกระดับกำไรจากความเสี่ยงที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Leverage)การวิเคราะห์การยกระดับกำไรจากความเสี่ยงที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Leverage) • ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Operating Leverage) • ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Leverage)

  17. ความเสี่ยงทางธุรกิจ(Operating Leverage)

  18. Operating Leverage • ที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจ • การวัดความเสี่ยงทางธุรกิจ = DOL(Degree -of Operating Leverage ) • การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ • วิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) • Indifferent Point of Operating Leverage (ไม่ออก)

  19. ที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจที่มาของความเสี่ยงทางธุรกิจ • ต้นทุนคงที่เป็นค่าใช้จ่ายประจำหรือค่าใช้จ่ายคงที่* • ค่าเช่า เงินเดือนพนักงาน ค่าเสื่อมราคา ฯลฯ • ปัจจัยอื่นๆ • ความไม่แน่นอนของยอดขาย • ราคาขาย • ความไม่แน่นอนของต้นทุนการผลิต • ความสามารถในการพัฒนาสินค้า

  20. Degree of Operating Leverage (DOL) • ดัชนีวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงานของบริษัท โดย เปรียบเทียบระหว่าง • ยอดขาย (Q) • กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) • สูตร EBIT = PQ –VQ-FC

  21. Degree of Operating Leverage (DOL) ใช้บอกระดับความเสี่ยงทางธุรกิจที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ(Fixed Cost) ที่แสดงให้เห็นถึง ความเปลี่ยนแปลงของกำไรจากการดำเนินงานเมื่อยอดขาย มีการเปลี่ยนแปลงไป หน่วยของ DOL= (เท่า) ตัวเลข ยิ่งมาก ยิ่งมีความเสี่ยงมาก

  22. Degree of Operating Leverage (DOL) • การวิเคราะห์ DOL • ตัวเลขยิ่งสูง แปลว่า ความเสี่ยงยิ่งมาก • ถ้ายอดขาย (Q)เปลี่ยน Xเปอร์เซ็นต์จะส่งผลกระทบต่อกำไรจากการ ดำเนินงาน (EBIT)ให้เปลี่ยนเท่ากับ DOLคูณXเปอร์เซ็นต์ • Example: • ถ้า DOL = 5เท่า • แปลว่า หากยอดขายเพิ่มขึ้น 4% กำไรจากการดำเนินงานจะเพิ่มขึ้น 5 * 4% = 20 % • ถ้า DOL = 20เท่า • แปลว่า หากยอดขาย(ลดลง)4% กำไรจากการดำเนินงานจะ (ลดลง) 20 * 4% = 80 %

  23. ข้อ2. บริษัท วีรชาติ ราคาขาย = 180 บาท ทางเลือกที่ 1ใช้เครื่องจักรผลิต : VC ถูกกว่า มีค่าเสื่อม เป็น FC 165,000 บาท VC 95 บาท/หน่วย ทางเลือกที่ 2ใช้คนงานผลิต : FC ถูกกว่า มีเงินเดือน เป็น FC 120,000 บาท VC 110 บาท/หน่วย

  24. ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 ถ้า Q1 =2,200 การหา DOLจะมี Q 2ตัว จากโจทย์ให้ Q2เท่ากับ 2,500 EBIT = PQ –VQ-FC

  25. ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 Q2 = 2,500 Q1 = 2,200ดังนั้น EBIT1 = (180*2,200)-(95*2,200)-165,000 = …………… บาท Q2 = 2,500 ดังนั้นEBIT2 = (180*2,500)-(95*2,500)-165,000 = ………….. บาท

  26. ข้อ 2.1 หา DOL ทางเลือกที่ 1 ถ้า Q2 =2,500 DOL = (………… - ………….)/......... (2,500-2,200)/2,200 = …………. เท่า

  27. ข้อ 2.4 • จากทางเลือกที่ 1 ได้ DOL = ………… เท่า • แปลว่า ถ้ายอดขายเพิ่มขึ้น 10% กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)จะเพิ่มขึ้น …………….* 10% = ………... %

  28. การบ้าน ให้ทำข้อ 2.2 , 2.3 , 2.5

  29. ความเสี่ยงทางการเงิน(Financial Leverage)

  30. โครงสร้างของเงินทุน(Capital Structure) • คือ สัดส่วนของหนี้สินทั้งสิ้นและ ส่วนของผู้ถือ หุ้นสามัญ • โครงสร้างที่เหมาะสม: • ค่าของทุนต่ำสุด • ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงสุด • สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพเศรษฐกิจ และนโยบายการบริหารของธุรกิจ

  31. กรณีศึกษา: บริษัทไหน มีความเสี่ยงทางการเงินมากกว่ากัน?

  32. โครงสร้างของเงินทุน

  33. FinancialLeverage • ถ้ากิจการไม่มีการก่อหนี้ (All Equity Financing) ผู้ถือหุ้นสามัญจะรับความเสี่ยงทางธุรกิจอย่าง เดียว ความเสี่ยงทั้งสิ้น = ความเสี่ยงทางธุรกิจ

  34. Financial Leverage • ถ้ากิจการมีการก่อหนี้ (Debt Financing)กิจการจะมีความเสี่ยงทางการเงินเพิ่มขึ้น • Total Leverage = Operating Leverage • +Financial Leverage ความเสี่ยงทั้งสิ้น = ความเสี่ยงทางธุรกิจ + ความเสี่ยงการเงิน

  35. โครงสร้างเงินทุน = สัดส่วนของหนี้สิน และ ส่วนของทุน โครงสร้างที่เหมาะสม คือ สัดส่วนของหนี้สิน และทุนที่ทำให้ต้นทุนรวมของบริษัท (ค่าของทุน) ต่ำสุด & ราคาตลาดของหุ้นสามัญสูงสุด

  36. ที่มาของความเสี่ยงทางการเงินที่มาของความเสี่ยงทางการเงิน • มีต้นทุนคงที่เป็นค่าใช้จ่ายประจำมาก* • ดอกเบี้ยจ่าย เช่น (เงินกู้ พันธบัตร หุ้นกู้) • เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ เช่น ออกหุ้นบุริมสิทธิ์ เงินปันผลหุ้นสามัญ = ค่าใช้จ่ายคงที่/ประจำ?

  37. Financial Leverage • หากบริษัทมีค่าใช้จ่ายคงที่การเงินสูง จะส่งผลให้ ผู้ถือหุ้นสามัญในบริษัทนั้นแบกความเสี่ยงสูงขึ้นไป ด้วย ดังนั้นผู้ถือหุ้นอาจต้องการผลตอบแทนในการ ลงทุนสูงขึ้นไปด้วย • ราคาหุ้นสามัญควรสูงขึ้น • ต้องจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นสามัญมากขึ้น

  38. Financial Leverage • ที่มาของความเสี่ยงทางการเงิน • การวัดความเสี่ยงทางการเงิน = DFL • การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน • ต้นทุนทางการเงินต่ำที่สุด • กำไรต่อหุ้น(EPS)สูงที่สุด • Indifferent Point of Financial Leverage(ไม่ออกสอบ)

  39. Indifferent Point of Financial Leverage • ในการระดมเงินทุนสามารถกระทำได้หลายทางเลือก • หุ้นกู้ / เงินกู้ (ดอกเบี้ยเงินกู้) • หุ้นบุริมสิทธิ์ (เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์) • หุ้นสามัญ

  40. การบริหารความเสี่ยงทางการเงินการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน • Indifferent Point of Financial Leverage ทางเลือกที่ 1 • เงินกู้ธนาคาร 30,000 บาท • หุ้นสามัญ 50,000 บาท • หุ้นบุริมสิทธิ์ 20,000 บาท ทางเลือกที่ 2 • เงินกู้ธนาคาร 20,000 บาท • หุ้นสามัญ 40,000 บาท • หุ้นบุริมสิทธิ์ 40,000 บาท เลือกทางไหนดี ?

  41. เพื่อทำ DFL การหา EPS ทางเลือก 2 ทางเลือก 1 EBIT xx xx -I xx xx EBT xx xx -T xx xx EAT xx xx -P xx xx EAT – P xx xx N xx xx EPS xx xx หาร

  42. Degree of Financial Leverage (DFL) • ดัชนีวัดของทางเลือกของแหล่งเงินทุน โดยเปรียบเทียบระหว่าง • กำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) • กำไรต่อหุ้นสามัญ (EPS) • สูตร EPS = กำไรสุทธิ - ปันผลบุริมสิทธิ์ จำนวนหุ้นสามัญ

  43. Degree of Financial Leverage (DFL) ใช้บอกระดับความเสี่ยงทางการเงินที่เกิดจากค่าใช้จ่ายประจำ แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของ กำไรต่อหุ้นสามัญ (EPS) เมื่อกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (EBIT)มีการเปลี่ยนแปลง หน่วยของ DFL=(เท่า) ตัวเลข ยิ่งมาก ยิ่งมีความเสี่ยงมาก

  44. Degree of Financial Leverage (DFL) • การวิเคราะห์ DFL • ตัวเลขยิ่งสูง แปลว่า ความเสี่ยงยิ่งมาก • ถ้ากำไรจากการดำเนินงาน (EBIT)เปลี่ยน Xเปอร์เซ็นต์จะส่งผลกระทบต่อกำไรต่อหุ้น (EPS)ให้เปลี่ยนเท่ากับ DFLคูณX เปอร์เซ็นต์ • Example: • ถ้า DFL = 5เท่า • แปลว่า หากEBITเพิ่มขึ้น4%, EPSจะเพิ่มขึ้น 5 * 4% = 20 % • ถ้า DFL = 20 เท่า • แปลว่า หากEBIT(ลดลง)4%, EPSจะ (ลดลง)20 * 4% = 80 %

  45. ข้อ 3

  46. ข้อ 3.1 พิจารณาทางเลือกในการระดมทุนที่คุ้มที่สุด EBIT1 = 900,000

  47. 1 หุ้นCS+หุ้นกู้ 2 หุ้น PS+หุ้นกู้ ข้อ 3.1 EBIT 900,000 900,000 หัก ดอกเบี้ยจ่าย(90,000)(135,000) กำไรหลังดอกเบี้ย 810,000 765,000 หักTax (243,000)(229,500) กำไรสุทธิ 567,000 535,500 หัก เงินปันผลให้หุ้น PS - (90,000) กำไรให้หุ้นสามัญ 567,000 445,500 หาร จำนวนหุ้นสามัญ 350,000 หุ้น 150,000 หุ้น EPS ……… .……..

  48. ข้อ 3.1 พิจารณาทางเลือกในการระดมทุนที่คุ้มที่สุด ดังนั้นควรเลือกทางเลือกที่ 2 คือ การระดมเงินทุน จากหุ้นบุริมสิทธิ์และหุ้นกู้ เพราะจะทำให้ บริษัทมี EPSสูงที่สุด

  49. ข้อ 3.2 หา DFL ทางเลือกที่ 1 EBIT1 = 900,000 EBIT2 =800,000

  50. ข้อ 3.2 หา DFL ทางเลือกที่ 1 ถ้า EBIT2 =800,000 EBIT1 = 900,000 ดังนั้น EPS1= ………. เท่า EBIT2 = 800,000 ดังนั้น EPS2=...... ต้องทำการหาใหม่ ดังนี้

More Related