1 / 106

ทฤษฎีการเรียนรู้ เบญจา วงษา

ทฤษฎีการเรียนรู้ เบญจา วงษา. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ. - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรรมนิยม ( Behaviorism ) - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม ( Cognitivism ) - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม ( Humanism ) -ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย.

Mercy
Download Presentation

ทฤษฎีการเรียนรู้ เบญจา วงษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีการเรียนรู้เบญจา วงษา

  2. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรรมนิยม (Behaviorism) - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism) - ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) -ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย

  3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรรมนิยม( Behaviorism)แนวคิด - การกระทำของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อมภายนอก - พฤติกรรมเกิดจากการตอบสนองของสิ่งเร้า - การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง

  4. ทฤษฏีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Thorndikes Classcical ลักษณะทฤษฎี Thorndike เชื่อว่า การเรียนรู้เกิดจาการเชื่อมโยง สิ่งเร้ากับการตอบสนอง บุคคลจะลองผิดลองถูก ปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่ารูปแบบการตอบสนองจะพึงพอใจมากที่สุดเพียงรูปแบบเดียว

  5. กฏการเรียนรู้มี 4 ข้อ 1. Law of Readiness กฏแห่งความพร้อม 2. Law of Exercise กฏแห่งการฝึก 3. Law of Use and Disuse กฏแห่งการใช้ 4. Law of effect กฏแห่งผลที่พึงพอใจ (ทดลองกับแมว ให้อาหารนอกกรง)

  6. การนำไประยุกต์ใช้ 1. ให้โอกาสเด็กในการลองผิดลองถูก เรียนแก้ปัญหา ทำให้เกิด ความจำ 2. การสำรวจความพร้อมก่อนเรียน สร้างบรรยากาศ นำสู่บทเรียน การเชื่อมโยงความรู้เดิม สำรวจพื้นฐานความรู้ 3. ฝึกทักษะทำให้เกิดความชำนาญ ความเข้าใจและเกิดการ เรียนรู้ 4. การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ 5. เรียนโดยการสร้างสถานการณ์

  7. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติClassical Conditioning ลักษณะทฤษฎี (Pavlov ) 1. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าตาธรรมชาติ (น้ำลายไหล-เนื้อ) 2. พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้า ตามธรรมชาติ(น้ำลายไหล-กระดิ่ง)

  8. 3. ลดสิ่งเร้าและหยุดลงหากไม่ได้รับการตอบสนอง (กระดิ่ง-ไม่มีเนื้อ-น้ำลายไม่ไหล) 4.พฤติกรรมการตอบสนองสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าธรรมชาติลดลงแต่นาน ๆ ไปจะกลับมาอีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ (ระยะนานๆไป สั่นกระดิ่ง-ไม่มีผงเนื้อ-น้ำลายไหลได้)

  9. 5. มนุษย์รับรู้สิ่งเร้าที่มีลักษณะคล้ายกันและตอบสนองเหมือนกัน (นกหวีด-กระดิ่ง ก็ทำให้นำลายไหลได้ ) 6. กฏแห่งการพื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (การตอบสนองที่เกิดจาการวางเงื่อนไขที่ลดลงสามารถเกิดขึ้นได้อีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขมา)

  10. การนำไประยุกต์ใช้ในการสอนการนำไประยุกต์ใช้ในการสอน 1. การจูงใจจากการใช้สิ่งเร้าที่นักเรียนชอบ การ์ตูน 2. สอนโดยใช้สิ่งเร้าที่นักเรียนชอบเป็นสื่อ เช่น ให้เขียนคำจากการเล่านิทาน 3. สอนในเรื่องที่เคยสอนมาแล้ว

  11. 4. การเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ 5. การเสนอสิ่งเร้าชัดเจน ผู้เรียนแยกแยะได้ และเรียนรู้ได้ดีขึ้น 6. การใช้สิ่งเร้าหลาย ๆ แบบ และมีสิ่งเร้าที่มีการ ตอบสนอง โดยไม่มีเงื่อนไขควบอยู่ด้วย เช่น การสอบก่อนเรียนทำให้เข้าเรียน ตรงเวลา และอาจเชื่อมโยงไปสู่วิชาอื่นด้วย

  12. ทฤษฏีการวางเงื่อนไขของ Watson ทฤษฎี 1.พฤติกรรมสามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และจะคงทนถาวรถ้าใช้สิ่งเร้านี้ควบคู่กันไปเสมอ 2.พฤติกรรมสามารถทำให้ลดลงได้ (ให้เด็กเล่นกับหนูขาว – ทำเสียงดัง-ร้องไห้- แม่กอดลูก-การร้องลดลง)

  13. การนำไประยุกต์ใช้ในการสอนการนำไประยุกต์ใช้ในการสอน - การลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาโดยการ วางสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไขมาช่วย เช่น การเรียนอย่างอบอุ่น การให้การช่วยเหลือของครู การตั้งใจสนใจฟังนักเรียน

  14. การวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง ของ กัทธรี Guthrie ทำการทดลองกับแมว-ปลาเซลมอน แมวบางตัวใช้วิธีเดียว บางตัวใช้หลายวิธี และใช้การกระทำครั้งสุดท้ายที่สำเร็จ จะใช้เป็นแบบแผน หรือ บางครั้งการกระทำเพียงครั้งเดียวก็สำเร็จแล้ว

  15. แนวทฤษฎีทฤษฎี - กฎความต่อเนื่อง สิ่งเร้าเดิมกลับมาพฤติกรรม กลับมาอีกโดยไม่ต้องเชื่อมโยง - การเรียนรู้เกิดได้แม้เพียงครั้งเดียว โดยไม่ต้อง ฝึกอีก - กฏของการกระทำครั้งสุดท้าย แม้จะถูกหรือผิด - การเรียนรู้เกิดจากการจูงใจมากกว่าการเสริมแรง

  16. การนำไประยุกต์ใช้ในการสอนการนำไประยุกต์ใช้ในการสอน 1.สอนขณะเกี่ยวพันกับสิ่งอื่นหรือไม่ เช่น หากยังวุ่นวายอยู่ก็ให้สงบก่อน 2.การสอนที่มีการสรุปความคิดรวบยอด ไม่ปล่อยให้สับสนหรือเข้าใจผิด ป้องกันการจำสถานการณ์ที่ผิด ไปใช้ 3. สอนโดยการสร้างแรงจูงใจ

  17. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ Operant Conditioning ของ Skinner แนวทฤษฏี • พฤติกรรมที่ได้รับการตอบสนองจะเกิดขึ้นอีก แต่พฤติกรรมที่ไม่ได้รับการตอบสนองจะลดลงและหายไป(หนูกดคาน อาหารตกลงมา) 2. การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยน ทำให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงตายตัว (หนู 2 ตัว ตัวแรกได้อาหารทุกครั้ง ตัวที่ 2 ได้บ้างไม่ได้บ้าง ตัวแรกจะเลิกกด แต่ตัวที่ 2 จะกดตลอด)

  18. 3.การลงโทษทำให้เรียนรู้ไวแต่ลืมง่าย (ช็อกหนูด้วยไฟฟ้า –วิ่งพล่านออกมาได้- จับใส่ใหม่ วิ่งพล่านจำทางออกไม่ได้ 4. ให้การเสริมเมื่อแสดงพฤติกรรมที่ต้องการได้ (สอนหนูเล่นบาสเกตบอล)

  19. การนำไประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนการนำไประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน 1. เสริมแรงเหมาะสมทำให้การตอบสนอง เหมาะสม 2. ควรมีการเปลี่ยนแปลงแรงเสริม 3. งดการลงโทษที่รุนแรง

  20. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม ( Cognitivism) ลักษณะ การเน้นกระบวนการความคิด มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากสิ่งเร้าเท่านั้น แต่เป็นกระบวนการภายในสมอง การเรียนรู้เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์กับข้อมูล ดึงข้อมูลมาใช้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาในการสร้างความรู้ความเข้าใจให้ตนเอง

  21. ทฤษฎีเกสตัลท์ Gestalt ลักษณะทฤษฎี ส่วนรวมมิใช่เพียงส่วนรวมของส่วนย่อยแต่เป็น มากกว่าส่วนรวมของส่วนย่อย 1.การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์ 2.การเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย

  22. 3.การเรียนรู้เกิด 2 ลักษณะ 3.1 การรับรู้ เข้าไปในสมองแล้วเกิดการคิด ตีความหมายเป็นพฤติกรรมออกมา 3.2 การหยั่งเห็น ความสามารถในการแก้ไข ปัญหาได้ทันที

  23. 4.กฎการจัดระเบียบการรับรู้4.กฎการจัดระเบียบการรับรู้ 4.1 กฎแห่งการรับรู้ของส่วนรวมและส่วนย่อย ประสบการณ์ต่างกันจะรับรู้แตกต่างกัน 4.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง สิ่งเร้าใกล้เคียงกัน รับรู้ใกล้เคียงกัน 4.3 กฏแห่งความใกล้เคียง 4.4 กฎแห่งความสมบูรณ์ บางอย่างไม่สมบูรณ์ แต่อาศัยจากการเคยมีประสบการณ์

  24. การนำไประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนการนำไประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน 1.เรียนโดยส่งเสริมกระบวนการคิด 2.การเรียนโดยเสนอภาพรวม แล้วแยกแยะ เพื่อความเข้าใจส่วนย่อย ๆ ได้ชัดเจน 3.การนำประสบการณ์มาเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ การสร้างสถานการณ์

  25. 4. การจัดสิ่งเร้า เนื้อหากิจกรรมที่เป็นระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ 5.การนำเสนอเนื้อหาที่ใกล้เคียงประสบการณ์เดิม 6.การนำเสนอเนื้อหาที่เกิดความต่อเนื่อง ส่งเสริมการเรียนรู้

  26. ทฤษฎีสนามField Theory ของKertLewin ลักษณะทฤษฎี -การเรียนรู้กับโลก สิ่งแวดล้อม การมีพลังบวกถ้าอยู่ใน ความสนใจและพลังลบถ้าไม่สนใจ ทุกคนมีโลกที่ ประกอบด้วยสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อมทางจิต ได้แก่แรงขับ แรงจูงใจ ที่จะนำไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ -การเรียนรู้เกิดจากการมีแรงใจ หรือแรงขับ เพื่อมุ่ง ความสำเร็จ

  27. การนำไประยุกต์ใช้ 1. การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับตัวเด็ก 2. ศึกษาความสนใจ ทางบวก และทางลบ โลกของแต่ละคนเพื่อให้เสริมแรงให้ถูกทาง 3.การสอนโดยนำแรงจูงใจเพื่อมุ่งความสำเร็จตามเป้าหมาย

  28. ทฤษฏีเครื่องหมาย( Sign Theory) ของTolman ลักษณะทฤษฎี การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมาย เป็นตัวชี้ทางให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ

  29. นักเรียนอยากได้รางวัลหากรางวัลไม่ตรงกับใจต้องการก็จะแสวงหารางวัลที่ต้องการนักเรียนอยากได้รางวัลหากรางวัลไม่ตรงกับใจต้องการก็จะแสวงหารางวัลที่ต้องการ • 2. การไปสู่จุดหมายปลายทางผู้เรียนจะเรียนรู้ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ สถานที่ ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ

  30. 3.ผู้เรียนจะปรับการเรียนรู้ไปตามความต้องการ ไม่ทำซ้ำๆ 4.การเรียนรู้แฝงอยู่ในผู้เรียนได้ จะแสดงออก เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม

  31. การนำไประยุกต์ใช้ 1.จัดการเรียนรู้โดยการสร้างแรงจูงใจ 2.การสอนที่ให้สัญลักษณ์ เครื่องหมาย สิ่งอื่น ๆ ที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ หรือไปสู่เป้าหมายที่ ต้องการ 3.ปรับสถานการณ์ทำให้เกิดการเรียนรู้ 4.อาจมีการประเมินผลหลาย ๆ แบบ หรือวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ที่อาจเกิดในระยะยาวด้วย

  32. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาIntellectual Development ของPiaget ลักษณะทฤษฎี การเรียนรู้เป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ไม่ควรเร่งแต่การเสริมสติปัญญาแต่ละช่วงจะทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี

  33. ลำดับขั้นพัฒนาการของเด็กมี ดังนี้ 1. (Sensori motor Period) ขั้นการรับรู้ประสาทสัมผัส 0-2 ปี ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ไม่รับรู้ผู้อื่น 2. ( Preoperational Period) ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด 2-7 ปี 3. (Concrete Operational Period) การคิดแบบรูปธรรม 7-11 ปี สร้างภาพในใจ คิดย้อนกลับได้ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับสิ่งแวดล้อม 4. ( Formal Operational Period) ขั้นการคิดแบบ นามธรรม 11-15 ปี ตั้งสมมุติฐาน และใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ได้

  34. 3. (Concrete Operational Period) การคิดแบบรูปธรรม อายุ 7-11 ปี สร้างภาพในใจ คิดย้อนกลับได้ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับสิ่งแวดล้อม 4. ( Formal Operational Period) ขั้นการคิดแบบนามธรรม 11-15 ปี ตั้งสมมุติฐาน และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้

  35. 2.ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่2.ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ 3.ลักษณะกระบวนการทางสติปัญญา - การซึมซับดูดซึม (assimilation) รับรู้ เรื่องราว ประสบการณ์ - การปรับและจัดระบบ(accommodation) (ปรับประสบการณ์/จัดระบบความคิด) - การเกิดความสมดุลย์ (equilibration) ปรับประสบการณ์ใหม่เข้ากับประสบการณ์เดิม

  36. การนำไประยุกต์ใช้ 1.การจัดการศึกษาคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาจัดสภาพให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 2.ควรให้มีความพร้อมก่อน/ไม่บังคับเรียนก่อนเกณฑ์ 3.การจัดให้เรียนตามระดับความสามารถอิสระ อายุเท่ากันอาจเรียนรู้ไม่เท่ากันก็ได้จึงไม่ควรนำมาเทียบกัน

  37. 4.การสอนเด็กเล็กให้เขารับรู้ส่วนรวมก่อนการเรียนรู้ส่วนย่อย4.การสอนเด็กเล็กให้เขารับรู้ส่วนรวมก่อนการเรียนรู้ส่วนย่อย 5.การสอนโดยใช้รูปธรรมจะเอื้อต่อการเข้าใจได้ดีกว่า 6.การเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับการเรียนช่วยซึมซับสติปัญญาได้

  38. แทรกการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไรแทรกการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร ตามแนวทฤษฏีของ Piaget

  39. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Bruner ลักษณะทฤษฎี Bruner มนุษย์รับรู้จากสิ่งที่ตนเองสนใจ การเรียนรู้เกิดจากการค้นพบตนเอง (Discovery Learning)

  40. แนวทฤษฎี *จัดโครงสร้างความรู้ให้สอดคล้องกับสติปัญญา มีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก * การจัดหลักสูตรให้เหมาะสมกับความพร้อม/ สติปัญญา การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ *การคิดแบบหยั่งรู้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้ *แรงจูงใจภายในทำให้ประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้ได้

  41. 5.พัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ 3 ขั้น - ขั้นเรียนรู้จาการกระทำ - การเรียนรู้จากความคิด - ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม

  42. 6. การเรียนรู้เกิดจากการที่สามารถสร้าง ความคิดรวบยอด จัดประเภทสิ่งต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม 7. การเรียนรู้ที่ดีที่สุดคือการให้ผู้เรียนค้นพบ ความรู้ด้วยตนเอง ( Discovery Learning)

  43. การนำไประยุกต์ใช้ 1. กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. วิเคราะห์เนื้อหาสาระก่อนสอน 3. จัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum)

  44. 4. การสอนให้เกิดความคิดรวบยอด 5. การสอนให้เหมาะสมกับระดับสติปัญญา ของผู้เรียน 6. การคิดอย่างอิสระทำให้เกิดความคิด สร้างสรรค์

  45. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( A Theory of Meaningful VerbalLearning) ของDavid Ausubel ลักษณะทฤษฎี การเรียนรู้จะมีความหมายถ้าได้เชื่อมโยงกับสิ่งที่เคยรู้มาก่อน การนำเสนอกรอบมโนทัศน์ก่อนการสอน ทำให้เกิดการเรียนรู้

  46. การนำไประยุกต์ใช้ การสอนโดยให้ความคิดรวบยอด/กรอบมโนทัศน์

  47. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม( Humanism) แนวคิด ให้ความสำคัญในคุณค่าความเป็นมนุษย์ว่ามนุษย์ มีคุณค่า ความงาม มีความต้องการ มีแรงจูงใจที่ต้องการพัฒนา หากได้รับเสรีภาพจะสามารถพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

  48. ทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์Maslowทฤษฎีการเรียนรู้ของมาสโลว์Maslow ลักษณะทฤษฎี 1. มนุษย์มีความต้องการพื้นฐาน 5 ประการ คือความต้องการด้านร่างกาย ความปลอดภัยมั่นคง ด้านความรัก การยกย่องจากสังคม และการพัฒนาสูงสุดตามศักยภาพ หากได้รับการตอบสนองจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงขึ้น

  49. 2. การรู้จักตนเองและการพัฒนาตนเอง (peak experience) หากรู้จักความสามารถของตนจะพัฒนาได้

  50. การนำไปประยุกต์ใช้ 1. เป็นจิตวิทยาที่ทำให้เข้าใจมนุษย์และความต้องการของนักเรียน สามารถจัดการเรียนรู้ที่จูงใจตามลำดับขั้นเพื่อพัฒนาไปสู่ศักยภาพที่สูงสุดของแต่ละคน 2. การจัดการเรียนการสอนที่ให้อิสระ เสรี ส่งเสริมการเรียนรู้

More Related