1 / 67

การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวรา

การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์. ทำไม ?. เพื่อสถาบันอุดมศึกษา. จัดทำหลักสูตรอย่างเป็นระบบ จัดการเรียนการสอน การประเมินผลอย่างเป็นระบบ ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง

wesley
Download Presentation

การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวรา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์

  2. ทำไม ? เพื่อสถาบันอุดมศึกษา • จัดทำหลักสูตรอย่างเป็นระบบ • จัดการเรียนการสอน การประเมินผลอย่างเป็นระบบ • ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง • ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) วราวุธ สุมาวงศ์

  3. เป็นภารกิจของทุกคณะ ที่จะต้องเขียนทุกหลักสูตรที่มีอยู่ทั้งหมด ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualification Framework หรือ TQF) เพื่อใช้ในปีการศึกษา 2555 16 เดือนจากนี้ไป วราวุธ สุมาวงศ์

  4. การทำความเข้าใจ การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 16 กรกฎาคม 2552 เป้าหมาย แผนการดำเนินการของทุกหลักสูตร ปีการศึกษา 2555 วราวุธ สุมาวงศ์

  5. การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติการนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ • ความพร้อม และศักยภาพในการบริหารจัดการศึกษา ตามที่กำหนด • แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร • พัฒนาหลักสูตร มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามสาขาวิชากำหนด (มคอ.1) และที่สถาบันเพิ่มเติมขึ้นมาตามปรัชญาและปณิธานทางสถาบัน • เขียน (มคอ.2) วราวุธ สุมาวงศ์

  6. การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ (ต่อ) • จัดทำรายละเอียดของรายวิชา และของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.3 และ มคอ.4) 5. นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ก่อนเปิดสอน 6. สถาบันเสนอรายละเอียดของหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ ภายใน 30 วัน หลังสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแล้ว 7. เมื่อสภาอนุมัติแล้ว มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ ให้บรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ปีการศึกษา 2555) วราวุธ สุมาวงศ์

  7. การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ (ต่อ) • เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ประเมินผลการเรียนรู้แต่ละรายวิชา (Course report) และประสบการณ์ภาคสนามในแต่ละภาคการศึกษา (Field experience report) ให้อาจารย์ผู้สอน จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา พร้อมปัญหา และข้อเสนอแนะ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตในภาพรวมประจำปีการศึกษา เมื่อสิ้นปีการศึกษา (Program report) • ครบรอบหลักสูตร จัดทำรายงานผลดำเนินการของหลักสูตร (Program report) (ข้อ8 และ 9 จะทำความเข้าใจต่อไปภายหลัง) วราวุธ สุมาวงศ์

  8. คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก มาตรฐานผลการเรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์แต่ละระดับคุณวุฒิ วราวุธ สุมาวงศ์

  9. มคอ. 1มาตรฐานคุณวุฒิระดับ....สาขา/สาขาวิชา.... สกอ. ให้ผู้เชี่ยวชาญกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต และระดับคุณวุฒินั้น ๆ มีผลการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าที่กำหนด โดยสถาบันต่างๆ มีโอกาสบรรจุเนื้อหาวิชา นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ได้ ตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของแต่ละสถาบัน โดย สกอ. มีมติเห็นชอบ และ ร.ม.ต. ศึกษาธิการลงนามประกาศใช้ ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางพัฒนาหลักสูตรใหม่หรือหลักสูตรปรับปรุงตามแบบ มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์

  10. ดังนั้น หลักสูตรต้องสอดคล้องกับ • มคอ.1 • เกณฑ์องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง - รับรองมาตรฐานหลักสูตร - การขึ้นทะเบียน - การออกแบบใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพ • มหาวิทยาลัยนั้น ๆ กำหนดเพิ่มเติม คุณลักษณะเด่น ตามปรัชญา / ปณิธาน วราวุธ สุมาวงศ์

  11. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • กรณีกระทรวงศึกษาธิการประกาศมาตรฐานคุณวุฒิของระดับคุณวุฒิของสาขาวิชา (มคอ.1) นั้นแล้ว 1.1 พิจารณาความพร้อม และศักยภาพ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรอย่างน้อย 5 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญในสาขาอย่างน้อย 2 คน ผู้แทนองค์กรวิชาชีพอย่างน้อย 1 คน 1.3 สถาบันอาจเพิ่มเติมคุณลักษณะเด่นตามปรัชญา / ปณิธาน วราวุธ สุมาวงศ์

  12. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) • กรณียังไม่มีประกาศ มคอ.1 2.1 พิจารณาความพร้อม และศักยภาพ 2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร (เหมือน 1.2) 2.3 เหมือน 1.3 วราวุธ สุมาวงศ์

  13. มคอ. 2รายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification) เขียนหลักสูตรตาม 8 หมวด หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร (ปรัชญา วัตถุประสงค์ และแผนพัฒนาปรับปรุง) หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และ โครงสร้างของหลักสูตร หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์

  14. มคอ. 2รายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification) (ต่อ) หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8 การประเมิน และการปรับปรุงหลักสูตร การเขียนขอให้ใช้หัวข้อตามศกอ.กำหนด แต่ละหลักสูตรอาจารย์ทำร่วมกัน เน้น Learning Outcome ผลการเรียนรู้ของบัณฑิต วราวุธ สุมาวงศ์

  15. หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • ข้อ 9 ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร • ในหลักสูตรฉบับใช้ทั่วไปไม่ต้องระบุเลขประจำตัวบัตรประชาชนใช้ xxxxxxxx หลักสูตร(มคอ.2) ฉบับที่ส่งสกอ.รับทราบเท่านั้นที่ต้องระบุเลขประจำตัวบัตรประชาชนของอาจารย์ทุกคนให้ครบ วราวุธ สุมาวงศ์

  16. หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร • ข้อ 1 ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ข้อเสนอแนะ ควรแยกเป็น 1.1 ความสำคัญ อาจรวมหลักการและเหตุผล 1.2 ปรัชญา 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์

  17. ปรัชญา เป้าหมายการผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะ และความรู้ความสามารถที่ต้องการ วัตถุประสงค์ เขียนตามหลักวิทยาศาสตร์การศึกษา ครอบคลุมทั้ง หมวดความรู้ หมวดเจตคติ หมวดทักษะ วราวุธ สุมาวงศ์

  18. หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 2 แผนพัฒนาปรับปรุง 2.1 แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน / ตัวบ่งชี้ วราวุธ สุมาวงศ์

  19. หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร • ข้อ 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 3.1.3 รายวิชา (ระบุรหัสวิชา ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ จำนวนหน่วยกิต จำนวนชั่วโมงบรรยาย จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ จำนวนชั่วโมงที่ศึกษา ด้วยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อภาษาไทย 3(2-2-5) ระดับปริญญาตรี ชื่อภาษาอังกฤษ วราวุธ สุมาวงศ์

  20. หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 3.1 หลักสูตร (ต่อ) 3.1.4 แสดงแผนการศึกษา (แต่ละชั้นปีและภาคการศึกษา) 3.1.5 คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วราวุธ สุมาวงศ์

  21. การคิดจำนวนหน่วยกิตแบบทวิภาคการคิดจำนวนหน่วยกิตแบบทวิภาค 1 หน่วยกิตทฤษฎี บรรยายหรืออภิปราย หรือสัมมนา 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา จำนวน 15 – 18 ต่อภาค 1 หน่วยกิตปฏิบัติ ฝึกหรือทดลอง 2 - 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา จำนวน 30 – 36 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาอิสระ เวลาที่ใช้ค้นคว้า ไม่น้อยและไม่มากกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาค หรือ 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา วิทยานิพนธ์ เหมือนการศึกษาอิสระ วราวุธ สุมาวงศ์

  22. การค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองการค้นคว้าศึกษาด้วยตนเอง โดยทั่วไปถือว่าระดับปริญญาตรี การบรรยาย 1 ชั่วโมง นักศึกษาจะต้องใช้เวลาเรียนรู้ด้วยตนเอง 2 ชั่วโมง เท่ากับใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง การปฏิบัติ 2 ชั่วโมง นักศึกษาจะต้องใช้เวลาเรียนรู้ด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง เท่ากับใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง เช่นกัน ระดับปริญญาโท-เอก ต้องใช้เวลาศึกษาค้นคว้ามาก่อนเข้าเรียนและหลัง เรียน ซึ่งต้องเวลาในการศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติมากกว่า 3 ชั่วโมง จึงคิดเพิ่มเป็น 4 ชั่วโมง วราวุธ สุมาวงศ์

  23. หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 3.2ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และ คุณวุฒิอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร (คุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา) 3.2.2 อาจารย์ประจำ (ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา) 3.2.3 อาจารย์พิเศษ วราวุธ สุมาวงศ์

  24. การเขียน มคอ.2 จะมีส่วนของ มคอ.3 เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย นั่นคือ คำอธิบายรายวิชา ซึ่งเป็นการรวมหัวเรื่องที่กำหนดให้นักศึกษาเรียนรู้ทั้งหมด ปัญหา เขียนคำอธิบายรายวิชาก่อน แล้วทำ มคอ.3 ภายหลัง คำอธิบายรายวิชาจึงไม่สมบูรณ์ วราวุธ สุมาวงศ์

  25. คำอธิบายรายวิชาภาษาไทยคำอธิบายรายวิชาภาษาไทย • ระบุหัวข้อเรื่องการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ขั้นต่ำ จึงประกอบด้วย 1. หัวข้อเรื่องที่กำหนดให้นักศึกษาเรียนรู้ทุกหมวดการศึกษา ทั้งที่มีการจัดการเรียนการสอนให้ และที่กำหนดให้เรียนรู้เอง 2. รวมหัวข้อเรื่องเหล่านั้นเขียนเรียงกันไป จึงเป็นวลีของหัวข้อเรื่องทั้งหมดที่นำมาเรียงต่อๆกัน 3. จะไม่ระบุวิธีการจัดการศึกษา วิธีประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วราวุธ สุมาวงศ์

  26. หลักการเขียนคำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษหลักการเขียนคำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ • แปลให้สอดคล้องตรงกันกับคำอธิบายรายวิชาภาษาไทยทุกอย่าง • วลีแรก นำด้วย Capital letter • เมื่อจบวลีใช้เครื่องหมาย Semicolon ( ; ) • เริ่มต้นวลีต่อไปด้วยอักษรตามทั้งหมด ยกเว้นศัพท์เฉพาะที่ต้องเขียน Capital letter • ในแต่ละวลีหรือหัวข้อเรื่อง ถ้าเกี่ยวข้องกัน ให้คั่นด้วยสัญลักษณ์ Comma ( , ) • จบคำอธิบายรายวิชาเมื่อสิ้นสุดวลีสุดท้าย ไม่ต้องใส่สัญลักษณ์ Fullstop ( . ) วราวุธ สุมาวงศ์

  27. หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 4 องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม สรุปการฝึกงาน ฝึกปฏิบัติทางคลินิก หรือสหกิจศึกษา ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร 4.1 มาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 ช่วงเวลา 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน • ข้อ 5 ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คำอธิบาย 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.3 ช่วงเวลา 5.4 การเตรียมการแนะนำช่วยเหลือ 5.5 กระบวนการประเมินผล วราวุธ สุมาวงศ์

  28. หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล ข้อ 1 การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา (ให้ระบุ) ข้อ 2 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 2.1 พัฒนาอะไร ให้สัมพันธ์แต่ละมาตรฐานระดับคุณวุฒิ 2.2 กลยุทธ์การสอนในรายวิชาต่างๆให้บรรลุผลการเรียนรู้ 2.3 วิธีการวัดและประเมินผล ข้อ 3 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ เรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping) วราวุธ สุมาวงศ์

  29. หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล (ต่อ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ • ด้านคุณธรรม จริยธรรม (7 ข้อ) • ด้านความรู้ (6 ข้อ) • ด้านทักษะทางปัญญา (4 ข้อ) • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (6 ข้อ) • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (4 ข้อ) • ด้านทักษะทางวิชาชีพ วราวุธ สุมาวงศ์

  30. หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล (ต่อ) โปรดศึกษา และเขียนให้สัมพันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิ มาตรฐานที่ 1 2 3 และ 6 เกี่ยวข้องโดยตรงกับสาขาวิชาที่จัดสอน มาตรฐานที่ 4 และ 5 สกอ. มุ่งหวังให้นักศึกษาทุกคนบรรลุมาตรฐาน มาตรฐานที่ 5 นักศึกษาทุกคนตื่นตัวอยู่แล้วเป็นส่วนใหญ่ทางเทคโนโลยี แต่ด้านการสื่อสารต้องหาทางหล่อหลอม มาตรฐานที่ 4 สิ่งที่ท้าทายม.อุบลฯ ที่เขียนเอาไว้จะหล่อหลอมอย่างไร? วราวุธ สุมาวงศ์

  31. หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา • กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้เกรด • กระบวนการทดสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์

  32. หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา (ต่อ) การทวนสอบ การดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสังเกต การตรวจสอบ การประเมิน การสัมภาษณ์ ว่าได้มีการดำเนินการบรรลุเป้าหมาย จัดเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบในระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง วราวุธ สุมาวงศ์

  33. หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา (ต่อ) กลยุทธ์ การตรวจสอบการให้คะแนนจากกระดาษคำตอบว่าให้คะแนน ตรงตามความเป็นจริง งานที่รับมอบหมาย การประเมินหลักสูตร ภาควิชา ผู้ใช้บัณฑิต สถาบันอื่น วิธีทวนสอบร่วมกัน เช่น การสอบออก โดยใช้ข้อสอบซึ่ง คณาจารย์สถาบันต่างๆในสาขาวิชาร่วมกันจัดทำ วราวุธ สุมาวงศ์

  34. หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ ข้อ 1 การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ แผนและการดำเนินการเป็นรูปธรรม ข้อ 2 การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ 2.1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การวัดและการ ประเมินผล 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ วราวุธ สุมาวงศ์

  35. หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร ข้อ 1 การบริหารหลักสูตร ระบบ กลไก ข้อ 2 การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร วราวุธ สุมาวงศ์

  36. หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) ข้อ 3 การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ใหม่ 3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและ ทบทวนหลักสูตร 3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ นโยบาย การอนุมัติ การเลือกสรร และสัดส่วนต่อคณาจารย์ในทั้งหลักสูตร ข้อ 4 การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ข้อ 5 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำแก่นักศึกษา 5.1 ด้านวิทยากรและอื่นๆ 5.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา ข้อ 6 ตลาดแรงงาน สังคม ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต วราวุธ สุมาวงศ์

  37. หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) ข้อ 5 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา 3.1 การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา 3.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยจัดทำหรือยัง??? กฎระเบียบการอุทธรณ์ของนักศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับวิชาการ กระบวนการในการพิจารณาข้ออุทธรณ์ของนักศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์

  38. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน • ความเห็น / ข้อเสนอแนะของอาจารย์หลังเข้าอบรมการนำกลยุทธ์ไปใช้ • ความเห็นผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร / วิธีการสอน • การประเมินของนักศึกษา ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา • การวิจัยในชั้นเรียน วราวุธ สุมาวงศ์

  39. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน (ต่อ) 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน • การประเมินของนักศึกษา • การสังเกตการณ์ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร / หัวหน้าภาควิชา / ทีมผู้สอน • การทดสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเทียบกับสถาบันอื่นในหลักสูตรเดียวกัน • การจัดอันดับการพัฒนาความรู้และทักษะที่นักศึกษาต้องการ วราวุธ สุมาวงศ์

  40. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 2 การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 จากนักศึกษาและบัณฑิต 2.2 จากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ประเมินภายนอก 2.3 ผู้ใช้บัณฑิต อาทิ จาการสัมภาษณ์ จากแบบประเมิน ข้อ 3 การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดของหลักสูตร โดยคณะกรรมการประเมินชุดเดียวกับการประเมินคุณภาพภายใน ข้อ 4 การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง กระบวนการวางแผนและกลยุทธ์ปรับปรุงหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์

  41. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน (ของครู) - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชา - ผลการเรียนของนักศึกษา - การประเมินจากผู้สังเกตการณ์ หัวหน้าภาควิชา ทีมผู้สอน - การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา วราวุธ สุมาวงศ์

  42. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) มหาวิทยาลัยอาจกำหนดแบบประเมินแต่ละรูปแบบวิธีการสอน อาทิ แบบประเมินการสอนวิธีบรรยาย แบบประเมินการสอนวิธีบรรยายเชิงอภิปราย แบบประเมินการสอนวิธีระดมสมองและกรณีศึกษา แบบประเมินการสอนวิธีนำเสนอผลการสืบค้นหรือผลงานที่ได้รับมอบหมาย แบบประเมินการสอนวิธีสัมมนา แบบประเมินการสอนวิธีฝึกปฏิบัติ แบบประเมินการสอนวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบประเมินการสอนให้คิดของ ม.อุบลฯ วราวุธ สุมาวงศ์

  43. การขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสภาบันอุดมศึกษาการขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสภาบันอุดมศึกษา สภามหาวิทยาลัยควรกำหนดระบบและกลไกของการจัดทำและอนุมัติรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามหรือฝึกงาน (มคอ.4) ให้ชัดเจน วราวุธ สุมาวงศ์

  44. มคอ. 3รายละเอียดของรายวิชา (Course specification) แนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชา (รหัสวิชา) เครื่องมือที่ผู้สอนกำหนด สร้าง และเตรียมการให้เป็นที่เข้าใจการเรียนรู้ โดยเฉพาะแก่ผู้เรียน วราวุธ สุมาวงศ์

  45. การเขียนรายละเอียดของรายวิชาตาม มคอ.3 ประกอบด้วย 7 หมวด หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนรู้ หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา วราวุธ สุมาวงศ์

  46. หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา - วัตถุประสงค์ทั่วไป (ระดับภาควิชา) - วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา - การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เช่น เนื้อหา เทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนการสอน วราวุธ สุมาวงศ์

  47. หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) การเขียนวัตถุประสงค์รายวิชา ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ระดับ กลาง อาจไม่เขียนเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ไม่จำเป็นต้องครบองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ A B ( C D ) C เงื่อนไข D ระดับความสามารถของผู้เรียน วราวุธ สุมาวงศ์

  48. หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) • ผลการเรียนรู้ • ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย • ด้านคุณธรรมและจริยธรรม • การพัฒนานิสัย ความประพฤติส่วนตนและส่วนรวม • สังคม การปรับชีวิตในความขัดแย้ง • ด้านความรู้ • การวิเคราะห์ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง วราวุธ สุมาวงศ์

  49. หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) • ด้านทักษะทางปัญญา • การคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • การทำงานเป็นกลุ่ม ภาวะผู้นำ ผู้ตาม • ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การเรียนรู้ของตัวเอง • ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทางสถิติ การสื่อสารทางการพูด การเขียน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านทักษะทางวิชาชีพ วราวุธ สุมาวงศ์

  50. หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ ข้อ 1 คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ข้อ 2 จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (ตามหน่วยกิตของรหัสวิชานี้) ข้อ 3 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา แนะนำ ทางวิชาการแก่นักศึกษา เป็นรายบุคคล นอกชั้นเรียน ระบุจำนวนชั่วโมงนอกชั้นเรียน แจ้งให้นักศึกษาทราบกำหนดเวลา และล่วงหน้า วราวุธ สุมาวงศ์

More Related