1 / 133

การเขียนข้อเสนอและ การออกแบบการวิจัยสถาบัน

การเขียนข้อเสนอและ การออกแบบการวิจัยสถาบัน. โดย รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ วันที่ 28 มกราคม 2554 สำหรับบุคลากร มสธ .จัดโดยสถาบันวิจัย. การวิจัย คืออะไร.

ivana
Download Presentation

การเขียนข้อเสนอและ การออกแบบการวิจัยสถาบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนข้อเสนอและการออกแบบการวิจัยสถาบันการเขียนข้อเสนอและการออกแบบการวิจัยสถาบัน โดย รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ วันที่ 28 มกราคม 2554 สำหรับบุคลากร มสธ.จัดโดยสถาบันวิจัย

  2. การวิจัย คืออะไร การวิจัย คือ กระบวนการแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง อย่างมีระบบแบบแผนที่เชื่อถือได้ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบที่นำไปใช้ในการอ้างอิง การสร้างกฎเกณฑ์และทฤษฎี การวางแผน และการแก้ปัญหาในการหาคำตอบอย่างเป็นระบบ ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์

  3. กระบวนการวิจัย ปัญหา (Problem) การสรุปอ้างอิง (Generalization) วัตถุประสงค์ / สมมติฐาน (Hypothesis) ทฤษฎี (Theory) การวิเคราะห์ข้อมูล (DataAnalysis) การออกแบบการวิจัย (ResearchDesign) การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) การวัดค่าตัวแปร (Variable Measurement)

  4. กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณกระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัญหาการวิจัย วรรณกรรม ที่เกี่ยวข้อง สมมติฐาน ประชากร การออกแบบการวิจัย การวัดค่าตัวแปร เทคนิคการสุ่ม การเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือ สรุปผล

  5. กระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะกระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะ ปัญหาจากธรรมชาติ คนเป็นเครื่องมือ สร้างองค์ความรู้แบบTacit Knowledge วิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative)

  6. กระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะกระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะ เลือกแบบเจาะจง ทำวนจนกว่าจะได้ข้อมูลเพียงพอ ใช้ EmergentDesign วิเคราะห์ข้อมูลแบบInductive หา Grounded Theory เขียนรายงานผลCase Report

  7. Qualitative-Quantitative Interactive Continuum hypothesis review literature data theory analysis theory conclusion hypothesis

  8. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action Research) คือ กระบวนการหาข้อเท็จจริงเพื่อแก้ปัญหาบางงาน บางเรื่อง ในการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น มีขั้นตอนดังนี้ • 1. เป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข และผู้วิจัยสามารถทำได้เอง • 2. กำหนดวัถตุประสงค์ • 3. ระบุคำตอบที่คาดเดา หรือตั้งสมมติฐานได้ • 4. กำหนดชื่อเรื่องที่ทำวิจัย

  9. 5. ระบุแนวทางแก้ปัญหาอย่างละเอียด ตั้งแต่การเลือกแบบการวิจัย ข้อมูลที่เก็บ วิธีรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล 6. ลงมือแก้ไขโดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลตามแนวที่วางไว้ 7. สรุปผลข้อมูลจากการลงมือแก้ไขแล้วจัดทำรายงาน 9

  10. P D A C

  11. เกณฑ์การเลือกปัญหาการวิจัยเกณฑ์การเลือกปัญหาการวิจัย • 1. ผู้วิจัยมีความรู้ความสามารถเพียงพอ • 2. มีความสนใจ และความมุ่งมั่นที่จะทำ • 3. มีกำลังทั้งแรงกายและทุนทรัพย์เพียง พอที่จะทำ • 4. มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว / เป็นเรื่องใหม่ ทฤษฎีใหม่

  12. ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดีลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี • 1. เป็นปัญหาที่มีความสำคัญ ผลการวิจัย สร้างความรู้ในการจัดการศึกษาระบบ ทางไกล • 2. สามารถแก้ปัญหาโดยทางวิทยาศาสตร์ • 3. เป็นข้อมูลที่มีความตรงและความเที่ยง นำไปอ้างอิงได้

  13. ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดีลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี • 4. มีความคิดริเริ่ม เป็นของใหม่ ไม่มีใคร ทำมาก่อน • 5. สามารถกำหนดระยะเวลา ทุนทรัพย์ ล่วงหน้า • 6. มีความลำบาก และความเสี่ยงไม่มาก จนเกินไป

  14. องค์ประกอบของปัญหาที่ดีองค์ประกอบของปัญหาที่ดี • 1. กะทัดรัด สื่อความหมายในประเด็นที่ วิจัยได้ดี • 2. หัวเรื่องไม่แคบ และไม่กว้างจนเกินไป • 3. มีตัวแปรอย่างน้อย 2 ตัว แสดงความ สัมพันธ์กัน • 4. ตรงกับความสามารถและความถนัด ของผู้วิจัย

  15. องค์ประกอบของปัญหาที่ดีองค์ประกอบของปัญหาที่ดี • 5. สามารถออกแบบวิจัยได้จริงในทาง ปฏิบัติ • 6. มีเวลา แรงงาน งบประมาณเพียงพอ • 7. มีประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย • 8. ไม่เคยมีใครทำมาก่อน

  16. แหล่งของปัญหาการวิจัยแหล่งของปัญหาการวิจัย • 1. การสังเกตโดยตรงของผู้ทำการวิจัย • 2. ทฤษฎี • 3. ประเด็นปัจจุบันทางด้านสังคม • 4. สถานการณ์ที่ปฏิบัติอยู่

  17. แหล่งของปัญหาการวิจัยแหล่งของปัญหาการวิจัย • 5. ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา/สำนัก • 6. เอกสารทางวิชาการ • 7. การประชุม สัมมนา อบรม • 8. การกำหนดหัวข้อจากผู้ให้ทุน

  18. บทบาทของมหาวิทยาลัย ด้านงานการสอน (Instruction) ด้านงานการวิจัย (Research) ด้านงานการบริการสังคม (Social Service) ด้านงานการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (Cultural Promotion)

  19. บทบาทของสายสนับสนุน สนับสนุนด้านงานการสอน สนับสนุน ด้านงานการวิจัย ใหับริการด้านงานการบริการสังคม ให้บริการด้านงานการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

  20. การเรียนการสอน หลักสูตร สารสนเทศ ห้องสมุด อาจารย์ การเรียน การสอน การวัดประเมินผล นักศึกษา บรรยากาศ การเรียนการสอน อุปกรณ์ การสอน วิธีการสอน

  21. ลักษณะการวิจัย สร้างองค์ความรู้ใหม่ วางแผน สร้างทฤษฎี (Grounded Theory) แก้ปัญหา การวิจัย สร้าง กฎเกณฑ์ ยืนยันทฤษฎี (Grand Theory)

  22. การตั้งชื่อเรื่องวิจัยการตั้งชื่อเรื่องวิจัย • 1. แบบยาว - บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม - ศึกษาอะไร จากใคร ที่ไหน เมื่อไร

  23. การตั้งชื่อเรื่องวิจัยการตั้งชื่อเรื่องวิจัย 1)ตัวชี้วัดคุณภาพการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยไทยตามทัศนะคณาจารย์ นักศึกษาและผู้ประกอบการ 2)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาในระบบการศึกษาทางไกลของ มสธ. 3)ความต้องการของนักศึกษาต่อรูปแบบการบริการการศึกษา ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  24. การตั้งชื่อเรื่องวิจัยการตั้งชื่อเรื่องวิจัย • 2. แบบสั้น - ระบุตัวแปรที่สำคัญ - สั้น กะทัดรัด ใช้ภาษาง่ายๆ - สื่อความหมายในประเด็นการวิจัย

  25. การตั้งชื่อเรื่องวิจัยการตั้งชื่อเรื่องวิจัย “ ลักษณะครูที่ดี ” “ วิธีเรียนในระบบทางไกล ” “ การประเมินโครงการ ” “ การบริหารความเสี่ยง”

  26. The reciprocal relationship of writing and thinking 1)Thinking How can I improve what I write until clarify what I think? How can I know what I think until I see what I write? 2)Writing

  27. ความแตกต่างระหว่าง ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก (Phillips & Pugh, 1994, pp. 17-18) A bachelor’s degree traditionally meant that the recipient had obtained a general education.

  28. A master’s degreeis a licence to practise. Originally this meant to practise theology, i.e. to take a living in the Church, but now there are master’s degrees across the whole range of disciplines: business administration, soil biology, computing, applied linguistics and so on. The degree marks the possession of advanced knowledge in a specialist field.

  29. A doctor’s degreeis a licence to teach–meaning to teach in a university as a member of faculty. This does not mean nowadays that becoming a lecturer is the only reason for taking a doctorate, since the degree has much wider career connotations outside academia and many PhDs do not have academic teaching posts. The concepts stems, though, from the need for a faculty member to be an authority, in full command of the subject right up to the boundaries of current knowledge, and able to extend them.

  30. การเขียนความเป็นมาของปัญหาการเขียนความเป็นมาของปัญหา 1)เกริ่นนำ 2)ปัญหาโดยทั่วไป 3) แนวคิดที่เกี่ยวกับปัญหา 4. ปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในสถานศึกษา ของผู้วิจัย พร้อมการอ้างอิงหลักฐาน 5.สรุปจากปัญหาและแนวคิดผู้วิจัยจึงทำเรื่องนี้

  31. Research Proposal Title:Tosummalize What a research will be about

  32. Research Proposal Summary: To provide and overview of the study

  33. Research Proposal Overall purpose: To present clear and concise statement of the overall the purpose

  34. Research Proposal Relevant background literature: To demonstrate the relationship between the proposed study and what has already been done in the particular area

  35. Research Proposal Research question/s: To provide an explicit statement of what they study will investigate.

  36. คำตอบ คำอธิบาย คำชี้แจง ข้อแก้ไข ข้อสรุป ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น ข้อค้นพบ คำถามการวิจัย คำถาม

  37. คำถามการวิจัย ระดับป.ตรี คือ What ระดับป.โท คือ How ระดับป.เอก คือ Why

  38. หลักการเขียนคำถามการวิจัยหลักการเขียนคำถามการวิจัย • 1. สอดคล้องกับชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ • 2. เป็นคำถามที่ต้องการรายละเอียดคำตอบ โดยถามว่าอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร • 3. ไม่ใช้คำถามใช่หรือไม่ (Yes-No question) • 4. เป็นคำถามเดียว

  39. Definition of terms: To provide the meaning of the key term that have been used in the research question/s. ต้องเป็นนิยามปฎิบัติการ คืออธิบายความหมายของคำสำคัญที่ผู้วิจัยต้องการบอกให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคำที่ใช้ในการวิจัย

  40. Research Proposal Research methodology: To give an illustration of the steps the project will go through in order to carry out the research.

  41. Research Proposal limitations: To show awareness of the limitations. Significance of the research: To say why the study is worth carrying out.

  42. การเขียนรายละเอียด 1)นิยามศัพท์ 2) ขอบเขตการวิจัย (ตัวแปร ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สถานที่ระยะเวลา) 3)ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  43. Research Proposal Time table:To give a working plan for carrying out, and completing, the study. References: to provide detailed references and bibliographic support for the proposal.

  44. Research Proposal Appendix: To provide examples of materials that might be used or adapted, in the study.

  45. A Well-Writing Project • A clear title which accurately and succinctly reflect the nature of the research study. • A structure and format which help the reader to absorb the subject matter.

  46. Master and Doctoral Thesis Oliver,Paul. (2008) Writing Your Thesis, Thousand Oaks, California:SAGE Publications • Research Problems • -should be described clearly • (เกริ่นนำ ตามตัวแปรสำคัญที่เกี่ยวข้องประเด็นปัญหา)

  47. Master and Doctoral Thesis • Research problems • -good academic writing makes • clear the linkages between the different aspects of the subject being described or analyzed. • -research issued are very complex. • - more and more important

  48. Master and Doctoral Thesis 2)Research problems -contextualized within the relevant literature( กล่าวถึงบริบทและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พร้อมอ้างอิงข้อมูลที่สนับสนุนประเด็นปัญหา) -specific theoretical tradition orperspective (กล่าวถึงแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ที่อธิบายประเด็นปัญหา ที่ใกล้เคียง)

  49. 2)The Research Objective Verbs which describes an academic process, To discuss ( an idea) To examine, To analysis To synthesis, To explore To reflect on, To investigate To propose, To systematize To test.

  50. การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย • 1. ใช้เขียนเชิงพฤติกรรม • 2. เขียนเป็นประโยคบอกเล่า ว่าต้องการ ศึกษาอะไร กับใครที่ไหน อย่างไร • 3. ใช้ภาษาง่ายๆ ไม่กำกวม

More Related