1 / 116

ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์ สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

“ ทิศทางเกษตรโลกและไทย ปี 2554 ”. ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์ สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ Pornsril@yahoo.com/ pornsri_l@cpf.co.th Tel. 085-801-7744 / 081-826-1800. 1. 3. 4. 2. หัวข้อการบรรยาย. ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหารและภาคการเกษตร.

Download Presentation

ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์ สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ทิศทางเกษตรโลกและไทย ปี 2554” ดร.พรศรี เหล่ารุจิสวัสดิ์สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ Pornsril@yahoo.com/ pornsri_l@cpf.co.th Tel. 085-801-7744 / 081-826-1800

  2. 1 3 4 2 หัวข้อการบรรยาย ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหารและภาคการเกษตร สถานการณ์สินค้าปศุสัตว์ของไทยและของโลกในปัจจุบัน ความท้าทายและศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม การปรับตัวเพื่อการแข่งขัน

  3. 1.ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหารและภาคการเกษตร1.ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหารและภาคการเกษตร

  4. ความสำคัญของภาคเกษตรกรรมของโลกความสำคัญของภาคเกษตรกรรมของโลก ที่มา : CIA factbook

  5. ความสำคัญของภาคเกษตรกรรมของโลกความสำคัญของภาคเกษตรกรรมของโลก 42.2% ของคนวัยทำงานของโลก อยู่ในภาคการเกษตรปี 2550 ที่มา : CIA factbook

  6. ภาคเกษตรกรรมกับบทบาทครัวของโลกภาคเกษตรกรรมกับบทบาทครัวของโลก ภาคการเกษตร เป็นแหล่งอาหารของคนทั่วโลก ที่มา : CIA factbook

  7. ผู้ส่งออกอาหารของโลก ปี 2552 แยกตามรายประเทศ ที่มา : สถาบันอาหาร(ลำดับ 6 = เบลเยี่ยม, 7 = สเปน, 9 = อิตาลี, 10 = แคนาดา 11 = อาร์เจนติน่า)

  8. สหรัฐอเมริกา-ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ของโลกสหรัฐอเมริกา-ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ของโลก ปี 2552 อเมริกาส่งออกอาหาร มูลค่า 96,300 ล้านเหรียญ$ ประมาณ 3 ล้านล้านบาท (10.6% ของมูลค่าส่งออกอาหารโลก) สินค้าส่งออกที่สำคัญ เช่น เนื้อไก่ น้ำตาล นมวัว ถั่วเหลือง เป็นต้น

  9. 1 2 3 4 การส่งออกอาหารของไทยปี 2552 ปี 2552ไทยส่งออกอาหารอันดับ 12 ของโลก มูลค่า 2.2 พันล้านเหรียญ หรือประมาณ 754,212 ล้านบาท มูลค่าส่งออกอาหารโลก 910,000 ล้านเหรียญ (ไทยส่งออกอาหารร้อยละ 2.4 ของการส่งออกอาหารโลก) มูลค่าการส่งออกไทยประมาณ 5,193 พันล้านบาท (การส่งออกอาหารคิดเป็น 15.4%ของมูลค่าการส่งออกรวมของไทย) GDP ของไทย 9,041.5 ล้านบาท (การส่งอาหารคิดเป็นมูลค่าประมาณ 8.8% ของGDP)

  10. ตลาดการส่งออกอาหารของไทย ปี 2552 ที่มา : *กรมศุลกากร, **UN

  11. ศักยภาพการส่งออกของไทย ปี 2551 ที่มา : สถาบันอาหาร

  12. 2. สถานการณ์ปศุสัตว์ของไทยและของโลกในปัจจุบัน

  13. ไก่เนื้อ

  14. การผลิตไก่เนื้อของโลกการผลิตไก่เนื้อของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA, สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย

  15. การส่งออกไก่เนื้อของโลกการส่งออกไก่เนื้อของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA , สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย

  16. การนำเข้าไก่เนื้อของโลกการนำเข้าไก่เนื้อของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA , สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย

  17. อัตราการบริโภคเนื้อไก่ต่อคนต่อปีอัตราการบริโภคเนื้อไก่ต่อคนต่อปี หน่วย : กิโลกรัมต่อคนต่อปี หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA , สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย

  18. อุตสาหกรรมไก่เนื้อของไทยอุตสาหกรรมไก่เนื้อของไทย ที่มา : สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย

  19. การผลิต การส่งออก และการบริโภคภายในประเทศเนื้อไก่ ปี 2553 ที่มา : ข้อมูลเบื้องต้นจาก USDA, คำนวณเพิ่มเติมโดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

  20. สุกร

  21. ประเทศผู้ผลิตสุกรที่สำคัญของโลกประเทศผู้ผลิตสุกรที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA, สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  22. ประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญของโลกประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA, สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  23. ประเทศผู้นำเข้าเนื้อสุกรที่สำคัญของโลกประเทศผู้นำเข้าเนื้อสุกรที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA

  24. อัตราการบริโภคเนื้อสุกรต่อคนต่อปีอัตราการบริโภคเนื้อสุกรต่อคนต่อปี หน่วย : กิโลกรัมต่อคนต่อปี หมายเหตุ: (f) ข้อมูลคาดคะเน ที่มา : USDA, สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก

  25. อุตสาหกรรมสุกรของไทย ที่มา : สมาคมผู้ผลิตและแปรรุปสุกรเพื่อการส่งออก

  26. การผลิต การส่งออก และการบริโภคภายในประเทศเนื้อสุกร ปี 2553 ที่มา : ข้อมูลเบื้องต้นจาก USDA, คำนวณเพิ่มเติมโดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

  27. ไก่ไข่

  28. ประเทศผู้ผลิตไข่ไก่ที่สำคัญของโลกประเทศผู้ผลิตไข่ไก่ที่สำคัญของโลก หน่วย : ล้านฟอง หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่

  29. ประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่ที่สำคัญของโลกประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่ที่สำคัญของโลก หน่วย : ล้านฟอง หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่

  30. ประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่ที่สำคัญของโลกประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่ที่สำคัญของโลก หน่วย : ล้านฟอง หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA

  31. อัตราการบริโภคไข่ไก่ต่อคนต่อปีอัตราการบริโภคไข่ไก่ต่อคนต่อปี หน่วย : ฟองต่อคนต่อปี หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่

  32. อุตสาหกรรมไข่ไก่ของไทยอุตสาหกรรมไข่ไก่ของไทย ที่มา : สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่

  33. การผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ภายในประเทศ ปี 2553 ที่มา : จากการคำนวณเพิ่มเติมของสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

  34. เป็ด

  35. ผู้ผลิตเป็ดที่สำคัญของโลกผู้ผลิตเป็ดที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและส่งออก

  36. ผู้ส่งออกเป็ดที่สำคัญของโลกผู้ส่งออกเป็ดที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและส่งออก

  37. ผู้นำเข้าเป็ดที่สำคัญของโลกผู้นำเข้าเป็ดที่สำคัญของโลก หน่วย : พันตัน หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA

  38. อัตราการบริโภคเนื้อเป็ดต่อคนต่อปีอัตราการบริโภคเนื้อเป็ดต่อคนต่อปี หน่วย : กิโลกรัมต่อคนต่อปี หมายเหตุ: (p) ข้อมูลเบื้องต้น, (f) ข้อมูลคาดคะเน โดยสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่มา : USDA, ของไทยจากสมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและส่งออก

  39. อุตสาหกรรมเป็ดของไทย หมายเหตุ : ปี 2553 ประมาณการณ์ โดยสมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก ที่มา : 1) ข้อมูลการผลิตจาก FAO, กรมปศุสัตว์ (รวมเป็ดเนื้อ เป็ดเทศ และเป็ดไข่) 2) ข้อมูลการนำเข้า-ส่งออก จากกรมปศุสัตว์

  40. การผลิต การส่งออก และการบริโภคเป็ดภายในประเทศ ปี 2553 ที่มา : จากการคำนวณเพิ่มเติมของสำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์

  41. 3.ความท้าทายและศักยภาพของอุตสาหกรรมอาหาร3.ความท้าทายและศักยภาพของอุตสาหกรรมอาหาร

  42. ความท้าทาย = การเปลี่ยนแปลงของโลก ที่อาจมีผลกระทบต่อธุรกิจอาหารของไทยในอนาคต

  43. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การรวมตัวกันเป็นกลุ่มประเทศส่งผลให้ภูมิภาคต่างๆ ของโลกมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น ทำให้เกิดตลาดการค้าใหม่ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก และส่งผลต่อทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของโลกและภูมิภาคต่างๆ ในอนาคต สรุปได้ดังนี้ 1.การเปลี่ยนแปลงศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของโลก 2. จีนและอินเดียจะก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจโลก 3. การรวมตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคต่างๆ

  44. แนวโน้มความต้องการเนื้อสัตว์ทั้งหมดของโลกแนวโน้มความต้องการเนื้อสัตว์ทั้งหมดของโลก

  45. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทย วัยสูงอายุ วัยทำงาน วัยเด็ก ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

  46. เทคโนโลยี แนวโน้มสู่การผสมผสานของเทคโนโลยีหลัก (IT, Bio, Materials, Nano) เกิดเทคโนโลยีสาขาหลักใหม่ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมและสนับสนุน Creativity ผลกระทบต่อแผนการผลิตและรูปแบบการบริโภค: เน้นการลงทุนทางปัญญามากกว่าทางกายภาพ และมีนวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย

  47. ศักยภาพของอุตสาหกรรมอาหารศักยภาพของอุตสาหกรรมอาหาร

  48. โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทยโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไทย โครงสร้างของ GDP โครงสร้างการจ้างงานของทย ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและอื่นๆ ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและอื่นๆ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)และ สำนักงานสถิติแห่งชาติ,อ้างถึงดร.วิไลพร ลิ้วเกษมศานต์

  49. Thailand Competitiveness Matrix (TCM) =2006Export value of 1 bil USD

More Related