1 / 61

ทบทวน

ทบทวน. วิธีการทางสถิติ. 1. ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวิจัย. 2. ใช้ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง. 3.1 สถิติเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา. 3. ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล. วิธีการทางสถิติ. 3.2.1 สถิติมีพารามิเตอร์. 3.2 สถิติอ้างอิงหรือเชิงอนุมาน. 4. ใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล.

wenda
Download Presentation

ทบทวน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทบทวน

  2. วิธีการทางสถิติ 1. ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือวิจัย 2. ใช้ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง 3.1 สถิติเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา 3. ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการทางสถิติ 3.2.1 สถิติมีพารามิเตอร์ 3.2 สถิติอ้างอิงหรือเชิงอนุมาน 4. ใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3.2.2 สถิติไร้พารามิเตอร์

  3. มาตรการวัด (Measurement Scales)

  4. ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่างขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 1. กำหนด/นิยามประชากรเป้าหมาย 2. รวบรวมสมาชิกทั้งหมดของประชากร 3. กำหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง 3.1 ใช้เกณฑ์ 3.2 ใช้สูตรคำนวณ 3.3 ใช้ตาราง 4. วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 5. ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

  5. 3. กำหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง 3.1 ใช้เกณฑ์ • จำนวนประชากรหลักร้อยใช้กลุ่มตัวอย่าง 15–30% • จำนวนประชากรหลักพันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10–15% • จำนวนประชากรหลักหมื่นใช้กลุ่มตัวอย่าง 5–10% • จำนวนประชากรหลักแสนใช้กลุ่มตัวอย่าง 1-5% 3.2 ใช้สูตรคำนวณ 3.3 ใช้ตาราง

  6. ตัวอย่างการกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ร้อยละตัวอย่างการกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ร้อยละ • จำนวนประชากร 450 คน • จะใช้กลุ่มตัวอย่าง = • จำนวนประชากร 2,500 คน • จะใช้กลุ่มตัวอย่าง = • จำนวนประชากร 80,000 คน • จะใช้กลุ่มตัวอย่าง = • จำนวนประชากร 125,000 คน • จะใช้กลุ่มตัวอย่าง =

  7. 3. กำหนดหน่วยของการสุ่มตัวอย่าง 3.1 ใช้เกณฑ์ 3.2 ใช้สูตรคำนวณ 3.3 ใช้ตาราง • ไม่ทราบจำนวนประชากร • ประมาณค่าสัดส่วน -> Cochran • ประมาณค่าเฉลี่ย -> Cochran • ทราบจำนวนประชากร • Taro Yamane - ประมาณค่าสัดส่วน • Krejcie and Morgan - ประมาณค่าเฉลี่ย

  8. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีไม่ทราบขนาดของประชากร ใช้สูตร W.G. Cochran ผู้วิจัยจะใช้กลุ่มตัวอย่างกี่คน ถ้าสัดส่วนของประชากรเท่ากับ 0.2 ต้องการความเชื่อมั่น 95 % และยอมให้คลาดเคลื่อน ได้ 3% • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มั่นใจ 95%) • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มั่นใจ 99%)

  9. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีไม่ทราบขนาดของประชากร ใช้สูตร W.G. Cochran ในการศึกษาการเจ็บป่วยในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งเกี่ยวกับโรคกระเพาะอาหารของประชากรในอำเภอหนึ่ง ทราบจากการรายงานประจำปีที่ผ่านมาว่า มีผู้ป่วยโรคนี้ 20% จงคำนวณหากลุ่มตัวอย่าง เมื่อกำหนดความเชื่อมั่น 95% ความเคลื่อนที่ยอมได้ไม่เกิน 2% • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มั่นใจ 95%) • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มั่นใจ 99%)

  10. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีไม่ทราบขนาดของประชากร ใช้สูตร W.G. Cochran ต้องการศึกษาคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ +/- 5 คะแนน จากงานวิจัยที่ผ่านมาค่าเฉลี่ยเท่ากับ 75 คะแนน และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 16 คะแนน หาขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มั่นใจ 95%) • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มั่นใจ 99%)

  11. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ใช้สูตรทาโร ยามาเน ประชากรที่จะศึกษามีทั้งหมดเท่ากับ 4,500 และยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนของการสุ่มร้อยละ 5 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คำนวณเท่ากับกี่หน่วย

  12. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรKrejcie and Morgan การศึกษาภาวะการเป็นผู้นำทางการพยาบาลของพยาบาลในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่มีพยาบาลจำนวน 1200 คน โดยยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ 5% และที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จะต้องใช้ขนาดตัวอย่างเท่าใด ถ้าร้อยละ 50 ของคนทำงานในโรงพยาบาลเป็นพยาบาล

  13. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีทราบจำนวนประชากรและประมาณค่าสัดส่วน ถ้าประชากรที่ใช้ในการวิจัยมีจำนวน 3,000 หน่วย ยอมรับให้เกิดความคลาดเคลื่อนจากตัวอย่างได้ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และสัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากรเท่ากับ 0.7 จงหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มั่นใจ 95%) • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มั่นใจ 99%)

  14. ตัวอย่างการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีทราบจำนวนประชากรและประมาณค่าเฉลี่ย ขนาดประชากร 600 หน่วย ต้องการศึกษาคะแนนวิชาสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ +/- 5 คะแนน จากงานวิจัยที่ผ่านมาค่าเฉลี่ยเท่ากับ 75 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 10 คะแนน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการจะเท่ากับเท่าไร • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 มีค่าเท่ากับ 1.96 (มั่นใจ 95%) • Z ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 มีค่าเท่ากับ 2.58 (มั่นใจ 99%)

  15. 4. วางแผนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4.1 Probability Sampling 1. SimpleRandomSampling 2. SystematicRandomSampling 3. Stratified RandomSampling 4. Cluster Sampling 5. Multi-stage Sampling 4.2 Non-Probability Sampling 1. Accidental Sampling 2. Quota Sampling 3. Purposive Sampling 4. Convenience Sampling 5. Snowball Sampling

  16. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. วิเคราะห์ทางกายภาพ 2. วิเคราะห์ทางสถิติ 2.1 ทั้งฉบับ • Validity • Reliability 2.2 รายข้อ • Item Difficulty • Item Discrimination 1. Content Validity - IOC: Index Objective Congruence 2. Construct Validity - Carver Method - Phi-Correlation 3. Criterion Related Validity - Concurrent Validity - Predictive Validity

  17. การแปลผล r = 0 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์กันเลย < 0.5 แสดงว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์กันน้อย 0.5 < < 0.8 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันปานกลาง > 0.8 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันสูง r = 1 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเป็นบวกสมบูรณ์ r = -1 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กันเป็นลบสมบูรณ์

  18. ตัวอย่าง Carver Method

  19. ตัวอย่าง Phi-Correlation

  20. ตัวอย่าง Phi-Correlation

  21. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. วิเคราะห์ทางกายภาพ 2. วิเคราะห์ทางสถิติ 2.1 ทั้งฉบับ • Validity • Reliability 2.2 รายข้อ • Item Difficulty • Item Discrimination 1. Coefficient of Stability • Test-Retest Method และ Parallel Form Method 2. Coefficient of Internal Consistency • Split-half Method - KR20 • Cronbach’s Alpha - KR21

  22. ตัวอย่าง Split-half Method • ในการนำแบบทดสอบที่จะสร้างขึ้นใหม่ฉบับหนึ่งไปทดลองทดสอบกับนักเรียนกลุ่ม หนึ่ง เมื่อนำผลการทดสอบมาตรวจคะแนนโดยแบ่งเป็นข้อคู่และคี่แล้วหาสหสัมพันธ์ ระหว่างคะแนนรวมข้อคู่กับคะแนนรวมข้อคี่ ได้ค่าสหสัมพันธ์ = 0.75 ต้องการทราบว่าแบบทดสอบฉบับนี้มีค่าความเชื่อถือได้เท่าไร

  23. ตัวอย่าง KR20

  24. ตัวอย่าง KR21 จากการทดลองใช้แบบทดสอบซึ่งมีจำนวน 40 ข้อ ได้ค่าเฉลี่ย 23.8, S=8.6 จงหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบฉบับนี้

  25. ตัวอย่าง Cronbach’s Alpha • ในการสำรวจเจตคติครั้งหนึ่ง ได้มีการสร้างแบบวัดจำนวน 10 ข้อ แล้วนำไปทดลองให้กลุ่มตัวอย่างที่เลือกเป็นกลุ่มทดลองเครื่องมือจำนวนหนึ่ง ตอบ เมื่อนำผลมาคำนวณรายข้อ ได้ค่าความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อดังนี้ 0.98, 1.02, 0.63. 0.75, 0.68, 1.05, 0.98, 0.92, 0.94, 1.05 และเมื่อคำนวณความแปรปรวนของคะแนนรวมได้เท่ากับ 25.87 จงคำนวณค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามฉบับนี้

  26. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. วิเคราะห์ทางกายภาพ 2. วิเคราะห์ทางสถิติ 2.1 ทั้งฉบับ • Validity • Reliability 2.2 รายข้อ • Item Difficulty • Item Discrimination

  27. ตัวอย่างการหาค่าความยากและอำนาจจำแนกตัวอย่างการหาค่าความยากและอำนาจจำแนก ในการสอบครั้งหนึ่ง เมื่อนำคะแนนรวมมาจัดลำดับ และจำแนกเป็นกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำแล้วพบว่า ข้อสอบข้อหนึ่งมีจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่มสูงจำนวน 15 คน กลุ่มต่ำ 8 คน จากจำนวนในแต่ละกลุ่มที่มีกลุ่มละ 22 คน จะสามารถคำนวณค่าความยากและค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบข้อนี้ได้ดังนี้

  28. ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. การเตรียมข้อมูล 3. การนำเสนอข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การตีความหมายของข้อมูล 6. การสรุปผลจากข้อมูลที่รวบรวมมาเพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่มีเหตุผล

  29. สถิติเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณนา(Descriptive Statistics) เป็นการอธิบายหรือบรรยายลักษณะของข้อมูลที่เก็บรวบรวม แต่จะไม่สามารถอ้างอิงถึงลักษณะประชากรได้ เช่น 1. การแจกแจงความถี่ 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3. การจัดตำแหน่งเปรียบเทียบ 4. การวัดการกระจาย 5. การวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูล 6. การวัดความสัมพันธ์ 7. การวัดการถดถอย

  30. 1. การแจกแจงความถี่ 1. แบบเรียงคะแนนแต่ละจำนวน (ไม่จัดกลุ่ม) 2. แบบเรียงคะแนนเป็นกลุ่ม (จัดกลุ่ม) • พิสัย (Range) • หาจำนวนชั้น จากสูตร k=1+3.3logN • ความกว้างแต่ละชั้น (Interval)

  31. ตัวอย่างการแจกแจงความถี่ 1

  32. ตัวอย่างการแจกแจงความถี่ 2

  33. 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1. ตัวกลางเลขคณิตหรือค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) 2. มัธยฐาน (Median) 3. ฐานนิยม (Mode)

  34. ตัวอย่างการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางตัวอย่างการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • 22 20 9 22 21 20 21 24 25 21 22 5 จงหาค่า Mean, Median, and Mode

  35. 3. การจัดตำแหน่งเปรียบเทียบ 1. เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) P(n + 1)/100 2. ควอไทล์ (Quartile) Q(n + 1)/4 3. เดไซล์ (Decile) D(n + 1)/10

  36. ตัวอย่างเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) • จงหาเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 58 ของข้อมูลต่อไปนี้ 6.3 6.6 7.6 3.0 9.5 5.9 6.1 5.0 3.6

  37. ตัวอย่างเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) • จากข้อมูลข้างล่าง หากค่าข้อมูลเท่ากับ 5.9 จะอยู่ในเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่เท่าไหร่ 6.3 6.6 7.6 3.0 9.5 5.9 6.1 5.0 3.6

  38. ตัวอย่างเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile)

  39. ตัวอย่างควอไทล์ (Quartile) • ให้ 10, 13, 8, 11, 15, 17, 20, 14, 22 จงหาควอไทล์ที่ 1, 3, และมัธยฐาน และถ้ามีข้อมูลเท่ากับ 15 ตกอยู่ในควอไทล์ที่เท่าไร

  40. ตัวอย่างควอไทล์ (Quartile) หาควอไทล์ที่ 3

  41. ตัวอย่างเดไซล์ (Decile) • ให้ 35, 37, 32, 34, 38, 40, 46, 41, 49 จงหาเดไซด์ที่ 4, 8 และ มัธยฐาน

  42. ตัวอย่างเดไซล์ (Decile)

  43. 4. การวัดการกระจาย 1. พิสัย (Range) • ถ้าเป็นข้อมูลที่ไม่มีการแจกแจงความถี่ Range = Max - Min • ถ้าเป็นข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่เป็นอันตรภาคชั้น พิสัย = ขีดจำกัดบนที่แท้จริงของอันตรภาคชั้นสูงสุด – ขีดจำกัดล่างที่แท้จริงของอันตรภาคชั้นต่ำสุด 2. พิสัยระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range) และ Semi-Interquartile Range IR = Q3-Q1 และ Q.D. = (Q3-Q1)/2

  44. 4. การวัดการกระจาย 3.ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 4. ค่าแปรปรวน (Variance)

  45. ตัวอย่างการวัดการกระจายตัวอย่างการวัดการกระจาย จากข้อมูล 20 25 25 30 30 45 45 45 55 60 จงหาพิสัย, พิสัยระหว่างควอไทล์,Semi-Interquartile Range, SD, และ Variance

  46. 5. การวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูล 1. การวัดความเบ้ (Skewness) • ความเบ้เป็น 0, - , + 2. การวัดความโด่ง (Kurtosis) • ความโด่งเป็น 0, - , +

  47. ตัวอย่างการวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลตัวอย่างการวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูล • จากข้อมูล 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20 จงหา Skewness

  48. ตัวอย่างการวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลตัวอย่างการวัดลักษณะของเส้นโค้งความถี่ของข้อมูล • จากข้อมูล 10, 12, 16, 9, 15, 10, 15, 10, 12, 11 • จงหา Skewness and Kurtosis

  49. 6. การวัดความสัมพันธ์ 1. Pearson Product-Moment Correlation Coefficient 2. Spearman Rank Correlation Coefficient 3. Kendall’s Tau Rank Correlation Coefficient

More Related