1 / 36

BC 427: Comp. App. In Finance

BC 427: Comp. App. In Finance. Class 10_Present. แผนการสอน. เนื้อหา ทบทวน Chapter 1: Introduction to Personal Financial Planning Using Quicken Deluxe 99 ทบทวน Chapter 2: Setting up Your Finances ขึ้น Chapter 6: Working with Goals and Objectives. Chapter 1: What is Financial Planning?.

gypsy
Download Presentation

BC 427: Comp. App. In Finance

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BC 427: Comp. App. In Finance Class 10_Present โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  2. แผนการสอน • เนื้อหา • ทบทวน Chapter 1: Introduction to Personal Financial Planning Using Quicken Deluxe 99 • ทบทวน Chapter 2: Setting up Your Finances • ขึ้น Chapter 6: Working with Goals and Objectives โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  3. Chapter 1: What is Financial Planning? • Personal Financial Planning (การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล) • เป็นขั้นตอนของการควบคุมเรื่องการเงินในอนาคตของบุคคล โดยที่บุคคลต้องเรียนรู้ว่าจะใช้จ่ายเงิน เก็บออมเงิน จัดการความเสี่ยง และ จัดการการลงทุนของตนเองอย่างไร โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  4. ในการวางแผนทางการเงินนั้นในการวางแผนทางการเงินนั้น • People don’t plan to fail; they just fail to plan. (บุคคลโดยทั่วไปจะไม่วาง “แผน” ไว้เพื่อให้ตนเองล้มเหลว แต่เขามักจะล้มเหลวในการวาง “แผน”) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  5. The Financial Planning process (ขั้นตอนในการวางแผนทางการเงิน) มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. Gather Information (รวบรวมข้อมูล) • ใช้เวลามากที่สุด และเป็นขั้นตอนที่ควรมีการทำเป็นประจำ 2. Establish goals and objectives (ตั้งเป้าหมายและจุดประสงค์) • โดยคำนึงถึงความสนุกและความท้าทายสำหรับตนเอง แต่เป็นไปได้ตามฐานะของตนเอง โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  6. Short-term goals (เป้าหมายระยะสั้น) < 1 ปี • Intermediate-term goals (เป้าหมายระยะกลาง) ตั้งแต่ 1 ปี ถึงระยะเวลา 5 ปี • Long-term goals (เป้าหมายระยะยาว) > 5 ปี ขึ้นไป 3. Prepare personal financial statements (เตรียมงบการเงินส่วนบุคคล) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  7. งบดุล (Balance Sheet) • งบกำไรขาดทุน (Income Statement) • งบกระแสเงินสด (Cash Flow Analysis) • งบประมาณ (Budgeting) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  8. 4. Analyze your present financial position by comparing your current financial position to your goals and create alternative financial strategies (วิเคราะห์สถานะทางการเงินในปัจจุบัน โดยเปรียบเทียบสถานะทางการเงินที่ตนเองมีอยู่กับเป้าหมายที่ตนเองสร้างไว้ และสร้างทางเลือกสำหรับกลยุทธ์ทางการเงินของตนเอง) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  9. 5. Develop and implement your financial plan (พัฒนาและประยุกต์ใช้แผนทางการเงินของตนเอง) • สรรหากลยุทธ์ทางการเงิน (financial strategy) 6. Review and revise your plan as time goes on. (ตรวจสอบและแก้ไขแผนทางการเงินของตนเองเมื่อเวลาเปลี่ยนไป) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  10. Using Quicken in Financial Planning • ในหนังสือจะให้ผู้ใช้ทดลองสร้างข้อมูลของ • Diane Lawrence อายุ 24 ปี • เพิ่งจบจากมหาวิทยาลัย และพักอยู่กับเพื่อน 2 คน • อาศัยในมลรัฐ New Hampshire (นิวแฮมเชียร์) • ทำงานอยู่กับ Raymound, Inc. (บริษัท เรมอลด์) มีตำแหน่งเป็น Financial Analyst (ผู้วิเคราะห์ทางการเงิน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  11. สาระสำคัญทางการใช้โปรแกรม Q. • ต้องรู้ว่า Data File ของโปรแกรม Q. จะประกอบไปด้วย File ข้อมูลย่อยๆ หลายๆ File มีนามสกุล .QDF, .QDB และ .QDT • ความหมายของหน้าจอจากการ Copy(คัดลอก) File • Original File • New Copy โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  12. ความหมายของ • New Quicken File • New Quicken Account โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  13. การแปลง Data File • การแปลง Data File สำหรับ Q. มีเพื่อให้ข้อมูลสามารถใช้ได้กับ Version ใหม่ หรือ ผู้ใช้โปรแกรม Microsoft Money สามารถเปิดข้อมูลที่สร้างขึ้นกับ Q. ก็ได้ ก็จะต้องมีการแปลงข้อมูลด้วยเช่นกัน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  14. Chapter 2: Setting Up Your Finances • สิ่งที่เพิ่มเติมมาใน V.2002 จาก V.99 ในเรื่องการคัดลอก (Copy) File คือ • V. 99 (หน้า 10) • Copy All Prior Uncleared Transactions • V.2002 • Include All Prior Uncleared Transactions. • Include All Prior Investment Transactions. โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  15. เมื่อใช้คำสั่ง File | File Operations | Copy ในครั้งแรกกับ File ที่ชื่อ Sampleอยากทราบว่าชื่อ File อันใหม่ ที่โปรแกรม Quicken ตั้งให้โดยอัตโนมัติ (หรือที่เป็นค่า Default) จะมีชื่อว่าอะไร? • ……\SampleCpy.qdf โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  16. ชื่อ File จากการ Copy สำหรับ Q. โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  17. การจัดหมวดหมู่ของบัญชีต่างๆ ใน V.2001 โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  18. โปรแกรม Quicken จำแนก Account Types (ชนิดของบัญชี) ออกได้เป็น 8 กลุ่ม สำหรับ V.99 ได้แก่ • Checking (บัญชีแบบมีสมุดเช็ค หรือ บัญชีกระแสรายวัน) • Saving (บัญชีออมทรัพย์) • Credit Card (บัญชีบัตรเครดิต) • Cash (บัญชีเงินสด) • Money Market (บัญชีแบบ Money Market อ่านว่า มันนี่ มาร์เก็ต) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  19. Investment (บัญชีที่เกี่ยวกับการลงทุน) • Asset (บัญชีทรัพย์สิน) • Liability (บัญชีหนี้สิน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  20. โปรแกรม V. 2002 จะจำแนก Account Types เป็นกลุ่มๆ • กลุ่มที่ 1 Banking Accounts (บัญชีธนาคารชนิดต่างๆ) • กลุ่มที่ 2 Investing Accounts (บัญชีที่เกี่ยวกับการลงทุนต่างๆ) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  21. Net Worth Statement • ภาพรวมของสถานะทางการเงินของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งแสดงได้โดยการนำ Asset (ทรัพย์สิน) - Liabilities (หนี้สิน) ซึ่งจะได้ผลลัพธ์เป็น Net Worth (ส่วนของเจ้าของ) ได้ดังสมการ Net Worth = Assets - Liabilities โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  22. กลุ่มที่ 3 Properties & Loan Accounts (บัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน) • กลุ่มพิเศษ หรือ กลุ่มที่ 4 (ถ้ามี) คือ Business Accounts (Home & Business only) (กลุ่มบัญชีที่เกี่ยวกับธุรกิจ) ซึ่งจะมีเฉพาะในโปรแกรม Quicken ที่เป็น Version Home & Business only โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  23. Assets (ทรัพย์สิน) คือ สิ่งที่คุณเป็นเจ้าของหรือมี โดยทั่วไปจัดแบ่งออกเป็น 4 Categories (กลุ่ม) 1. Liquid Assets = Monetary Assets (ทรัพย์สินหมุนเวียน) 2. Personal Assets = Tangible Assets (ทรัพย์สินส่วนตัว หรือ ทรัพย์สินที่จับต้องได้) 3. Intangible Assets (ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้) 4. Investment Assets = Capital Assets (ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการลงทุน) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  24. สำหรับโปรแกรม Quicken • Checking Account หรือ บัญชีกระแสรายวัน • Money Market Account มีลักษณะเหมือนกับ Checking Account แต่มีส่วนประกอบของ Investment Account รวมอยู่ด้วย • Savings Account แม้ว่าจะมีลักษณะเป็น Investment Account ด้วยแต่จะจำแนกอยู่ในกลุ่ม Liquid Assets เพราะมีลักษณะที่สามารถเปลี่ยนแปลงเป็นเงินสดได้ง่าย โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  25. Asset Account ใช้สำหรับการบันทึกรายการที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินส่วนตัวทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ • Investment Account ใช้สำหรับการติดตามรายการทางการลงทุน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  26. Liabilities (หนี้สิน) • Liability Account (บัญชีหนี้สิน) ซึ่งใช้เพื่อติดตามยอดคงเหลือปัจจุบันของหนี้สิน • Credit Card Account (บัญชีบัตรเครดิต) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  27. หน้าจอ Account List จะมีปุ่มใช้งานอยู่ 6 ปุ่ม คือ Open, Hide, Info, New, Edit, และ Delete (ดูหนังสือหน้า 17) โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  28. Quicken Categories-Income and Expenses • Income Statement (งบกำไรขาดทุน) มีลักษณะเหมือนกับ Net Worth Report แต่ Income Statement จะให้รายละเอียดโดยการสรุปเหตุการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้ ภายในระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง • Net Income คือ รายได้ > ค่าใช้จ่าย • Net Loss คือ ค่าใช้จ่าย > รายได้ โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  29. File สำหรับโปรแกรม Quicken เหมือนกับตู้เอกสารขนาดใหญ่ 1 ตู้ • ที่ผู้ใช้สามารถเก็บ Account ซึ่งเปรียบได้กับลิ้นชักต่างๆ ที่จัดแบ่งกลุ่มรายการที่มีลักษณะคล้ายกันไว้ในลิ้นชักเดียวกัน • Categories จะมีลักษณะเหมือนกันแฟ้มเอกสารต่างๆ ที่อยู่ภายในลิ้นชักที่แต่ละแฟ้มจะมีข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่มีลักษณะคล้ายๆ กันเก็บเอาไว้ในแฟ้มเอกสารเดียวกัน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  30. Subcategories คือ แฟ้มเอกสารย่อยๆ ที่อยู่ภายในแฟ้มเอกสารใหญ่แฟ้มหนึ่ง Subcategories ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่มแยกย่อยออกไปอีกลำดับชั้นหนึ่งใน Categories โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  31. Chapter 6: “Working with Goals and Objectives” • ตัวอย่างของ Goals และ Objectives ของ Diane และ John อยู่ในหน้าที่ 70 Figure ที่ 6-1 • The Time Value of Money • Time Value คือ ความคิดที่ว่าเงิน 1 หน่วย ในเวลาปัจจุบันจะค่าไม่เท่ากับเงิน 1 หน่วยเดียวกัน ในอดีต หรือ ในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  32. Present Value คือ มูลค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ณ เวลาปัจจุบัน • FutureValue คือ มูลค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  33. Calculating After-Tax Yields • บุคคลใดบุคคลหนึ่งมีหน้าที่เสียภาษีจากดอกเบี้ย หรือ รายได้จากการลงทุนของตนเองให้กับทางกรมสรรพากร ฉะนั้น จะคำนวณมูลค่าอนาคตของรายได้ โดยใช้อัตราดอกเบี้ยหลังจากหักภาษีแล้ว After-Tax Return สำหรับการลงทุน = i (1 - t ) • i = Interest rate (อัตราดอกเบี้ย) • t = marginal tax rate (อัตราการเสียภาษีกับเงินก้อนสุดท้ายของรายได้ของบุคคล โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  34. เช่น สมมุติว่าอัตราในการเสียภาษีมีดังนี้ รายได้ถึง 20,000เหรียญสหรัฐ เสียภาษีในอัตรา 15% รายได้ถึง 30,000 เหรียญสหรัฐ เสียภาษีในอัตรา 30% Diane มีเงินเดือน 35,000 เหรียญฯ จะเสียภาษีดังนี้ 20,000 เสียภาษีที่อัตรา 15% 15,000 เสียภาษีที่อัตรา 30% โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  35. ฉะนั้น marginal tax rate คือ 30% ถ้าหากอัตราดอกเบี้ยของบัญชีออมทรัพย์ของ Diane คือ 4.25% after-tax annual yield คือ i (1 – t ) = 4.25%(1 - 30% ) = 2.975% • การคำนวณโดยใช้ after-tax annual yield มีความสำคัญเพราะ เงินที่จะถูกหักออกไปเสียภาษีในส่วนนี้จะมีผลกระทบต่อรายได้ที่จะเกิดขึ้นจริงในอนาคต โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

  36. Emergency Fund (เงินฉุกเฉิน) คือ เงินฉุกเฉินสำหรับครอบครัวเมื่อเงินรับประจำมีเหตุขัดข้อง เช่น หัวหน้าครอบครัวเกิดอุบัติเหตุไปทำงานไม่ได้ พิการ หรือ ตกงาน โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

More Related