1 / 43

Anchalee Chainual, MD. Gynecologic oncology Nakornping hospital

Anchalee Chainual, MD. Gynecologic oncology Nakornping hospital. Cervical Cancer. Cancer Situation in Thailand (Female ). (Yrs. 2013-2015). Cervical Cancer of Thailand. Chiang Mai = 14. Lampang = 14.1. Khon Kaen = 8.8. Bangkok = 9.8. THAILAND = 11.7/100,000. Songkhla = 10.3.

tameral
Download Presentation

Anchalee Chainual, MD. Gynecologic oncology Nakornping hospital

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Anchalee Chainual, MD.Gynecologic oncologyNakornping hospital Cervical Cancer

  2. Cancer Situation in Thailand (Female ) (Yrs. 2013-2015)

  3. Cervical Cancer of Thailand Chiang Mai = 14 Lampang = 14.1 Khon Kaen = 8.8 Bangkok = 9.8 THAILAND = 11.7/100,000 Songkhla = 10.3 age-standardized incidence rate (ASR per 100,000 : 2013-2015)

  4. มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสามในมะเร็งของเพศหญิง รองจากมะเร็งเต้านมและมะเร็งตับ • พบมากในช่วงอายุ 30 – 50 ปี • ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ใน • ประเทศกำลังพัฒนา • สำหรับประเทศไทย มะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดใน • ภาคเหนือของประเทศ • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และสามารถ • ตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ก่อน ซึ่งการรักษาได้ผลดี

  5. ปากมดลูก (Cervix) เป็น Fibromuscular tissue ส่วนล่างสุดของมดลูก ยาวประมาณ 2-3 cm. เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2.5 cm. อยู่ติดกับช่องคลอดส่วนบน

  6. สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูกคือ : การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมา (Human Papilloma virus) หรือ เอชพีวี (HPV) บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณปากมดลูก :HPV ที่พบว่าเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกมาก ที่สุดคือชนิดที่ 16 และ 18

  7. Double-stranded DNA 55 nm diameter Human Papilloma Virus 8,000 base-pair genome 72 capsomers 8 genes(E1,E2,E4,E5,E6,E7,L1,L2)

  8. ปัจจุบันพบ HPV มากกว่า 100 สายพันธุ์ มีประมาณ 40 สายพันธุ์ ที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเนื้อเยื่อบริเวณ ano–genital area แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดความเสี่ยงสูง หรือชนิดก่อมะเร็งได้แก่สายพันธุ์ HPV 16,18,31,33,35,39,45,51,52,56,58,59,68 และ 82 โดยสายพันธุ์ที่ก่อปัญหามากที่สุดคือ HPV 16 และรองลงมาคือ HPV 18 2. ชนิดความเสี่ยงต่ำ ก่อให้เกิดหูดหงอนไก่ (Genital Warts) บริเวณ ano–genital ได้แก่สายพันธุ์ HPV 6,11,40,42,43,44,54,61,72,73 และ 81 ที่พบบ่อยคือ HPV 6 และ HPV 11

  9. Oral pills Multiparity Multiple sex partners (male & female) Early age of S.I. Smoking Cause of Cervical Cancer Co-factors Immunosuppression Persistent Infection of Oncogenic HPV (16,18,31,33,45,etc)

  10. ปากมดลูกปกติ

  11. มะเร็งปากมดลูก From IARC, 2003.1

  12. ระยะของมะเร็งปากมดลูกระยะของมะเร็งปากมดลูก แบ่งเป็น - ระยะก่อนเป็นมะเร็ง (Precancerous lesion) : HSIL, LSIL, CIN, - มะเร็ง (Cancer) : แบ่งเป็น 4 ระยะ ตามการลุกลาม Stage I – Stage IV

  13. ระยะก่อนเป็นมะเร็ง หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปากมดลูกที่ผิดปกติ (Dysplasia) ที่บริเวณผิวของปากมดลูก ซึ่งแบ่งเป็น • Mild dysplasia (CIN I, LSIL) • Moderate dysplasia (CIN II, HSIL) • Severe dysplasia (CIN III, HSIL) ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี จึงจะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูก ระยะก่อนเป็นมะเร็งสามารถรักษาได้

  14. มะเร็งระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือ - ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก - ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก และ/หรือผนังช่องคลอดส่วนบน - ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ด้านข้างของเชิงกรานและ/ หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ - ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น

  15. การรักษามะเร็งปากมดลูกการรักษามะเร็งปากมดลูก • แบ่งวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็งได้ดังนี้ • 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้หลายวิธีได้แก่ • - การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด รอยโรคขั้นต่ำบางชนิด • สามารถหายไปได้เองภายใน 1-2 ปี ภายหลังการตัดเนื้อตรวจ • - การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า (LEEP) • - การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น (Cryotherapy) • - การจี้ด้วยเลเซอร์ • - การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด (CKC)

  16. Loop Electrosurgical Excision Procedure (LEEP)

  17. 2. ระยะลุกลาม • การเลือกวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจำตัวของผู้ป่วย ระยะของมะเร็ง และความพร้อมของโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้ดูแลรักษา • 2.1 ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 บางราย รักษาโดยการตัดมดลูก • ออกแบบกว้างร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองเชิงกรานออก • 2.2 ระยะที่ 2 ถึงระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการให้ • ยาเคมีบำบัด

  18. การผ่าตัดมะเร็งปากมดลูกการผ่าตัดมะเร็งปากมดลูก

  19. การฉายแสง การใส่แร่

  20. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1. VIA 2.Conventional Papanicolaou test (Pap smear) 3. Liquid-based cytology 4. Colposcopy 5.HPV test

  21. VIA – Negative

  22. VIA – Positive

  23. ความไว 50% ผลลบลวง 15-30% Pap Smear แบบมาตรฐาน Pap smear and Liquid-base cytology เซลล์วิทยาอิงของเหลว (liquid-based cytology) ความไว 75-85% ผลลบลวง 2%

  24. Pap smear

  25. Liquid Based Cytology (LBC)

  26. การเก็บตัวอย่างเซลล์วิทยา อิงของเหลว

  27. Cervical samples(liquid-based cytology) Abnormal cytology managed according to study protocol algorithms: either repeat liquid-based cytology (LBC) or refer to colposcopy

  28. Comparison between Thin Prep and Conventional Pap

  29. ข้อดีของเซลล์วิทยาอิงของเหลวข้อดีของเซลล์วิทยาอิงของเหลว 1. เก็บเซลล์ตัวอย่างในน้ำยารักษาสภาพเซลล์ 2. เซลล์เรียงตัวเป็นระเบียบชั้นเดียว 3. ไม่มีมูก เลือด เนื้อเยื่อตายมาบังเซลล์ 4. ทำซ้ำได้ 5-10 ครั้ง 5. การแปลผลใช้เวลาไม่นาน (3 - 6 นาที)

  30. Colposcope

  31. Detect high risk HPV HPV 16, 18 And 12 High risk types

  32. Self Cervical Cancer Screening (HPV)

  33. การเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองเพื่อส่งตรวจหา HPV

  34. Vaccine HPV ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูก • วัคซีนที่ใช้กันอยู่ในตอนนี้มี 2 ชนิด คือ • วัคซีน 4 สายพันธุ์ (Quadrivalent vaccine: • 6,11,16,18) • วัคซีน 2 สายพันธุ์ (Bivalent vaccine:16,18)

  35. Quadrivalent: 16,18,6,11 Bivalent: 16,18

  36. ประสิทธิภาพของวัคซีน • มีประสิทธิภาพสูงโดยถ้าฉีดในผู้ที่ไม่เคยติดเชื้อ HPV มาก่อน • หรือหญิงสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก • วัคซีนสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ถึงร้อยละ 90-96 • ประสิทธิภาพลดลงในกลุ่มที่เคยติดเชื้อหรือกำลังติดเชื้อ HPV อยู่

  37. การฉีดวัคซีน 1.       ควรฉีดในเด็กสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ 2.       อายุที่สมควรฉีดคือ 9-26 ปีในเพศหญิง และอายุ 9-17 ปี ในเพศชาย 3.       สำหรับสตรีที่เคยมีเพศสัมพันธ์แล้วควรตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกก่อน ถ้าผลปกติสามารถฉีดวัคซีนได้ ถ้าผลผิดปกติให้ดูแลรักษาตามมาตรฐานและฉีดวัคซีนได้แต่ ประสิทธิภาพของวัคซีนจะลดลง 4.      ฉีด 3 ครั้งเข้ากล้ามเนื้อ เดือนที่1 เดือนที่2 และเดือนที่6 5.       วัคซีนสามารถป้องกันการติดเชื้อ HPV ได้นานอย่างน้อย 10 ปี 6.       การฉีดวัคซีนเพื่อกระตุ้นซ้ำ (booster) ยังไม่มีข้อมูลว่าสมควรฉีดเมื่อไหร่ 7.       ควรเลี่ยงการฉีดวัคซีนในผู้ที่มีอาการป่วยอยู่ 8.       ห้ามฉีดวัคซีนในผู้ที่มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน

  38. Co-Test (Cyto+HPV)

  39. THANK YOU

More Related