1 / 40

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สมัปปิโต รองอธิการบดีฝ่ายนโยบาย แผน และวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์. ผลลัพธ์. พรฎ. 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ

shel
Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สมัปปิโตรองอธิการบดีฝ่ายนโยบาย แผน และวิจัยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  2. ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ พรฎ. 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ 6. อำนวยความสะดวกให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  3. การดำเนินการตามตัวชี้วัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

  4. มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  5. เกณฑ์การให้คะแนน

  6. ระดับคะแนน 1 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ • กรม / จังหวัด ต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงให้ความรู้แก่ข้าราชการในสังกัด โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร • สำหรับระดับจังหวัดนอกจากจะให้ความรู้แก่ข้าราชการในส่วนราชการประจำอำเภอแล้ว อาจให้หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุมดังกล่าวด้วย • จัดประชุมชี้แจงอย่างน้อย 1 ครั้ง 3 ชั่วโมง

  7. ระดับคะแนน 2 จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการและจัดทำแผนดำเนินการ พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ คณะทำงานดำเนินการควรประกอบด้วย 2 คณะคือ 1. คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการฯ (Steering Committee) 2. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team)

  8. แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับกรม ผู้บริหารสูงสุด อธิบดี / เลขาธิการ (CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองอธิบดี /รองเลขาธิการ) ผู้บริหารระดับรอง (ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง) ผู้บริหารระดับรอง รองอธิบดี/รองเลขาธิการ (CCO) เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

  9. แนวทางการจัดตั้งWorking Team ระดับกรม รองประธาน Steering Committee (รองอธิบดี/รองเลขาธิการ) ทำหน้าที่ประธาน Working Team Category Champion 1..2..3..4..5..6 Members เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) เลขานุการ หน้าที่: จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเองและจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ

  10. โครงสร้างคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Steering Committee ประธาน <อธิการบดี> คณะกรรมการ<รองอธิการบดี,ผู้แทนคณะ-สถาบัน-สำนัก,กองแผนงาน> Working Team ลักษณะ สำคัญขององค์กร คณะทำงาน หมวด 1 คณะทำงาน หมวด 2 คณะทำงาน หมวด 3 คณะทำงาน หมวด 6 คณะทำงาน หมวด 7 คณะทำงาน หมวด 4 คณะทำงาน หมวด 5 หัวหน้า คณะทำงาน ดร.ศุภชัย อ.ยุวดี ดร.ศุภชัย รศ.สุรชา ผศ.ทวีชัย รศ.เทียนศักดิ์ รศ.มยุรี ทุกหมวด คณะทำงาน/ประสานงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน คณะทำงาน เลขานุการฯทุกหมวด น.ส.พนมพร น.ส.พิมพ์พร นางสิริพร นายสิทธิศักดิ์ น.ส.พนมพร นายนิวัฒ น.ส.แจ่มจันทร์ เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

  11. คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการฯ (Steering Committee) 1) ศาสตราจารย์ นายแพทย์อดุลย์ วิริยเวชกุล ราชบัณฑิต ประธานคณะกรรมการ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย สมัปปิโต รองประธานคณะกรรมการ 3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สกล คงบุญ กรรมการ 4) รองศาสตราจารย์มยุรี ภารการ กรรมการ 5) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิศมัย ศรีอำไพ กรรมการ 6) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สังคม ภูมิพันธุ์ กรรมการ 7) อาจารย์ยุวดี ตปนียากร กรรมการ 8) รองศาสตราจารย์เทียนศักดิ์ เมฆพรรณโอภาส กรรมการ

  12. คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการฯ (Steering Committee) (ต่อ) 9) รองศาสตราจารย์สุรชา อมรพันธุ์ กรรมการ 10) อาจารย์ ดร.วรรทณา สินศิริ กรรมการ 11) ศาสตราจารย์ ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ กรรมการ 12) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิน บุตรดีสุวรรณ กรรมการ 13) รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ประเทพา กรรมการ 14) อาจารย์มงคล ม่วงเขียวกรรมการ 15) นางสิริพร ศิระบูชา กรรมการและเลขานุการ 16) นางสาวพนมพร ปัจจวงษ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 17) นางสาวแจ่มจันทร์ วังแพน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

  13. อำนาจหน้าที่ ของ Steering Committee 1) กำหนดนโยบาย กรอบแนวทางและทิศทางการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) ส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษาแนะนำ ในเรื่องต่างๆ ของ คณะทำงาน เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามกรอบ ทิศทาง และแนวทาง ที่กำหนด 3) ติดตาม เร่งรัดให้การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นไปตามแผนดำเนินการอย่าง มีประสิทธิภาพ

  14. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 1 การนำองค์กร 1) อาจารย์ยุวดี ตปนียากร หัวหน้าคณะทำงาน 2. ศาสตราจารย์ นพ.สมพร โพธินาม คณะทำงาน 3) ศาสตราจารย์ ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ คณะทำงาน 4) ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงศ์ศิริ คณะทำงาน 5) อาจารย์มงคล ม่วงเขียว คณะทำงาน 6) อาจารย์ ดร.เนรมิต มรกต คณะทำงาน 7) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดร.ศุภรัตน์ จิตต์จำนง คณะทำงาน 8) อาจารย์ ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์ คณะทำงาน

  15. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 1 การนำองค์กร (ต่อ) 9) อาจารย์ศักดิ์เจริญ ภวภูตานนท์ คณะทำงาน 10) อาจารย์สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์ คณะทำงาน 11) อาจารย์ ดร.จินดารัตน์ ปีมณี คณะทำงาน 12) ร้อยตำรวจเอกวิศิษฐ์ เจนนานนท์ คณะทำงาน 13) นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง คณะทำงาน 14) นางกฤตยาวดี เกตุวงศา คณะทำงาน 15) นางสาวพิมพ์พร กลิ่นถาวร คณะทำงานและเลขานุการ 16) นางสาวสิริมา ศรีสุภาพ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  16. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ศุภชัย สมัปปิโต หัวหน้าคณะทำงาน 2) รองศาสตราจารย์์ ดร.ปรีชา ประเทพา คณะทำงาน 3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ คณะทำงาน 4) รองศาสตราจารย์ปิยพันธ์ แสนทวีสุข คณะทำงาน 5) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปพฤกษ์ อุตสาหะวาณิชกิจ คณะทำงาน 6) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช คณะทำงาน 7) อาจารย์ ดร.สมนึก พ่วงพรพิทักษ์ คณะทำงาน 8) อาจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร คณะทำงาน 9) นางสิริพร ศิระบูชาคณะทำงานและเลขานุการ 10) นางสาววาสนา ปาปะตังคณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  17. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1) รองศาสตราจารย์สุรชา อมรพันธุ์ หัวหน้าคณะทำงาน 2) รองศาสตราจารย์ ดร. วินัย วีระวัฒนานนท์ คณะทำงาน 3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไกรสร ชัยโรจน์กาญจนา คณะทำงาน 4) อาจารย์ธเนศ ศรีสถิตย์ คณะทำงาน 5) อาจารย์พิสิฏฐ์ บุญไชย คณะทำงาน 6) นางทิพวรรณ เจริญศักดิ์ คณะทำงาน 7) นางสาวอนุกูล บุญอ่อน คณะทำงาน 8) นางดวงจันทร์ อาชา คณะทำงาน 9) นางอรอนงค์ เมฆพรรณโอภาส คณะทำงาน 10) นายสุนทร เดชชัย คณะทำงาน

  18. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ต่อ) 11) นายชำนาญ มีนิยม คณะทำงาน 12) นายเกื้อกูล ดวงจันทร์ทิพย์ คณะทำงาน 13) นายสมหวัง เพ็ชร์กลาง คณะทำงาน 14) นายพงษ์เทพ เจริญศักดิ์ คณะทำงาน 15) นางสาวประภารัตน์ เค้าสิม คณะทำงาน 16) นางสาวพัตชบูล กิ่งพุ่ม คณะทำงาน 17) นางสาวมะลิวัลย์ น้อยบัวทิพย์ คณะทำงาน 18) นายสิทธิศักดิ์ จันทร์สมุด คณะทำงานและเลขานุการ 19) นางพรรณี เจริญศิริคณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ 20) นายคมรัตน์ หลูปรีชาเศรษฐ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  19. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีชัย สิทธิศร หัวหน้าคณะทำงาน 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุจิน บุตรดีสุวรรณ คณะทำงาน 3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉลาด จันทรสมบัติ คณะทำงาน 4) อาจารย์ ดร.สุมลวรรณ ชุ่มเชื้อ คณะทำงาน 5) อาจารย์ชุมศักดิ์ สีบุญเรือง คณะทำงาน 6) นายสมพงษ์ เจริญศิริ คณะทำงาน 7) นายวิชิต ชาวะหาคณะทำงาน 8) นางชุลีพรรณ พลชำนิ คณะทำงาน 9) นายกัมปนาท อาชา คณะทำงาน 10) นางสาวพนมพร ปัจจวงษ์ คณะทำงานและเลขานุการ 11) นางสาวเพียรทิพย์ คำแสนเดช คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  20. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1) รองศาสตราจารย์เทียนศักดิ์ เมฆพรรณโอภาส หัวหน้าคณะทำงาน 2) รองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ คณะทำงาน 3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ ภู่พัฒน์วิบูลย์คณะทำงาน 4) อาจารย์ดร.ชวลิต ชูกำแพง คณะทำงาน 5) อาจารย์ดร.เมธิน ผดุงกิจ คณะทำงาน 6) รองศาสตราจารย์วิรัตน์ พงษ์ศิริ คณะทำงาน 7) อาจารย์ดร.จุลสุชดา ศิริสม คณะทำงาน 8) อาจารย์เชิงชาญ จงสมชัย คณะทำงาน 9) อาจารย์อดุลย์ บุญฉ่ำ คณะทำงาน

  21. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (ต่อ) 10) นางสมคิด สิทธิศร คณะทำงาน 11) นางมาลี ศิริสุทธิ์ คณะทำงาน 12) นายอานุภาพ งามสูงเนิน คณะทำงาน 13) นายอุทัย หามนตรี คณะทำงาน 14) นางสาวกนกวรรณ เชาว์น้อยคณะทำงาน 15) นายนิวัฒ พัฒนิบูลย์ คณะทำงานและเลขานุการ 16) นางสาวพจนีย์ มาตย์วิเศษ คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ 17) นายไกรษร อุทัยแสง คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  22. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 1) รองศาสตราจารย์มยุรี ภารการ หัวหน้าคณะทำงาน 2) อาจารย์ ดร.วิเชียร ตันศิริคงคล คณะทำงาน 3) ว่าที่พันตรีวีระพงษ์ หาญรินทร์ คณะทำงาน 4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาติ มณีโชติ คณะทำงาน 5) อาจารย์ ดร.รำไพ เกณฑ์สาคู คณะทำงาน 6) อาจารย์ธีระพล ศิระบูชา คณะทำงาน 7) อาจารย์พิรดี ปะละฤทธิ์ คณะทำงาน

  23. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Working Team) หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (ต่อ) 8) อาจารย์ ดร.เรืองรุชดิ์ ชีระโรจน์ คณะทำงาน 9) อาจารย์ ดร.เจริญพร เลิศสถิตธนกร คณะทำงาน 10) อาจารย์ ดร.อัศวิน อมรสิน คณะทำงาน 11) นายอารยะ เสนาคุณ คณะทำงาน 12) นางสาวแจ่มจันทร์ วังแพน คณะทำงานและเลขานุการ 13) นางสาวคนึงนิตย์ โพธิชัย คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

  24. อำนาจหน้าที่ ของ Working Team 1) ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมหาวิทยาลัย มหาสารคาม 2) ดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-assessment) ตามเกณฑ์พัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 3) จัดเตรียมและสนับสนุนข้อมูลในเรื่องต่างๆ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อประกอบการดำเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเอง 4) ดำเนินการจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) รายงานผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อให้คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลฯ ให้ความเห็นชอบ 6) ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลฯ มอบหมาย

  25. แผนดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย 1. กิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการ 2. ระยะเวลาในการดำเนินการ 3. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม

  26. แผนดำเนินงาน PMQA มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

  27. แผนดำเนินงาน PMQA มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ต่อ)

  28. แผนดำเนินงาน PMQA มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ต่อ)

  29. แผนดำเนินงาน PMQA มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ต่อ)

  30. ระดับคะแนน 3 อบรมคณะทำงาน • ส่วนราชการ / จังหวัด คัดเลือกตัวแทนจากคณะทำงาน จำนวน 6 คน (ตัวแทนหมวดละ 1 คน) เข้ารับการอบรมตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัด • ทีมที่เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปถ่ายทอดให้คณะทำงานของตน

  31. การพิจารณาการให้คะแนนในระดับขั้นตอนนี้แบ่งออก 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พิจารณาจากจำนวนผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ( 0.75 คะแนน) • ผู้ที่มีเวลาเข้ารับการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่าผ่านการอบรม • ส่วนที่ 2 พิจารณาจากการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปถ่ายทอด (0.25 คะแนน)

  32. ระดับคะแนน 4 ความครบถ้วนของการจัดทำ ลักษณะสำคัญขององค์กร • อธิบายลักษณะองค์กรและความท้าทายต่อองค์กร ตอบคำถามตาม Template รวม 15 ข้อ

  33. คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ส่วนราชการตอบคะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ส่วนราชการตอบ

  34. ระดับคะแนน 5 • อธิบายและตอบคำถามตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด รวม 90 ข้อ • แนวทางการตอบคำถาม เช่นเดียวกับระดับ 4 ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานเบื้องต้น

  35. คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ส่วนราชการตอบคำถามคะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ส่วนราชการตอบคำถาม

  36. สรุปการดำเนินการ PMQA มมส ประจำปี พ.ศ. 2549 การดำเนินงาน ขั้นตอน 1. จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับการ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ (ดำเนินการแล้ว) โดยจัดประชุมให้ ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐแก่บุคลากร มหาวิทยาลัย ในระหว่างวันที่ 27-29 มี.ค. 2549 ณ จ.สระบุรี 2. จัดตั้งคณะทำงาน และกำหนด แผนการดำเนินงาน โดยขออนุมัติ แผนการดำเนินงานต่อผู้บังคับ บัญชา (ดำเนินการแล้ว) มีการจัดตั้ง คณะทำงาน ตามคำสั่ง มมส ที 1875/2549 ลงวันที่ 24 พ.ค. 2549 และกำหนดแผนการดำเนินงาน โดยขออนุมัติต่ออธิการบดี

  37. สรุปการดำเนินการ PMQA มมส ประจำปี พ.ศ. 2549 (ต่อ) การดำเนินงาน ขั้นตอน 3. จัดอบรมคณะทำงานเพื่อเตรียม ความพร้อมในการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง (ประกอบด้วย 2 ส่วน) 3.1) มหาวิทยาลัยฯส่งตัวแทน คณะทำงานเข้าอบรม เกี่ยวกับ PMQA 3.2) การถ่ายทอดความรู้ คณะทำงานของแต่ละหมวด (ดำเนินการแล้ว) โดยส่งตัวแทน 6 คนเข้าอบรมฯในระหว่างวันที่ 1 พ.ค. - 1 มิ.ย. 2549 ณ กรุงเทพฯ (กำลังดำเนินการ) โดยจัดประชุม ในวันที่ 23 มิ.ย. 2549 ณ มมส

  38. สรุปการดำเนินการ PMQA มมส ประจำปี พ.ศ. 2549 (ต่อ) การดำเนินงาน ขั้นตอน 4. จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ให้มีความครบถ้วน (กำลังดำเนินการ) โดยตัวแทน คณะทำงานที่เข้าอบรมฯ เริ่มตอบ คำถาม จำนวน 15 ข้อ ใน Template ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด 5. จัดทำเอกสารรายงานผลการ ดำเนินการเบื้องต้น ให้มีความ ครบถ้วน (กำลังดำเนินการ) โดยตัวแทน คณะทำงานที่เข้าอบรมแต่ละหมวด เริ่มตอบคำถามใน Template และ จะนำไปพิจารณาร่วมกับคณะทำงาน แต่ละหมวด และพิจารณาร่วมกัน ทุกหมวดต่อไป

  39. รายงานผลการประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินการรายงานผลการประเมินระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ระดับขั้นตอนการดำเนินการ คะแนนที่ได้รับ ขั้นตอนที่ 1 1 ขั้นตอนที่ 2 1 ขั้นตอนที่ 3 1 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 คะแนนรวม

  40. ทบทวน/ปรับปรุง ผลการประเมินตนเอง -แผนระยะสั้น -แผนระยะกลาง -แผนระยะยาว -โครงสร้างหน่วยงาน -แผนพัฒนาบุคลากร -แผนการผลิตบัณฑิต -การปรับปรุงหลักสูตร -วิจัย/บริการวิชาการ/ ทำนุบำรุงฯ -การบริหารจัดการ การ วางแผน เชิง ยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การนำ องค์กร การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การ จัดการ กระบวนการ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หัวใจของ PMQA ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 คำถาม ผลลัพท์ -องค์กรจะยื่น ขอรับรางวัล TQA/PMQA หรือไม่ก็ได้ -องค์กรที่มี คุณภาพ/ มาตรฐาน สากล -ลักษณะ สำคัญของ องค์กร (15 ข้อ) -หมวด 1-7 (90 ข้อ)

More Related