1 / 58

เอกสารประกอบการสัมมนา การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

เอกสารประกอบการสัมมนา การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) วันที่ 25 พฤษภาคม 2550 ณ ห้องสัมมนา 1 ชั้น 1 ตึกเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์. โดยคุณกฤษณา สุขบุญญสถิตย์. กำหนดการ. หลักการที่มาของเกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐ

gilead
Download Presentation

เอกสารประกอบการสัมมนา การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการสัมมนาเอกสารประกอบการสัมมนา การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) วันที่ 25 พฤษภาคม 2550 ณ ห้องสัมมนา 1 ชั้น 1 ตึกเพียรวิจิตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยคุณกฤษณา สุขบุญญสถิตย์

  2. กำหนดการ • หลักการที่มาของเกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐ • ค่านิยม เกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐ • แนวทางการให้คะแนน รายละเอียดตัวชี้วัด กพร. • รายละเอียดคำถามในส่วนลักษณะสำคัญขององค์กร • สรุปรายละเอียดของเกณฑ์หมวด 1-7 • แนวทางการเขียนในส่วนกระบวนการ/ผลลัพธ์ • แนวทางการจัดทำการประเมินองค์กรด้วยตนเอง • แนวทางการจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร

  3. รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand • Deming Prize (1951) • Canada Award (1984) • Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) • Australian Business Excellence Awards (1988) • European Foundation Quality Management (1991) • Singapore Quality Award (1994) • Japan Quality Award (1995) • MBNQA : Education and Healthcare (1999) • Thailand Quality Award (2001)

  4. ค่านิยมหลัก แนวคิดขององค์กรที่เป็นเลิศ 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นนักศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและตลาด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นบุคคลากร 6. การจัดการกระบวนการ 7. ผลลัพธ์

  5. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  6. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management MIS e-government

  7. ได้รับรายงานป้อนกลับ ประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA No ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

  8. แผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 • ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือกตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • อบรมคณะทำงาน Working Team ของส่วนราชการที่เลือกดำเนินการ • สร้างจังหวัดนำร่อง • ให้คำปรึกษาและติดตามผลการดำเนินการของกรมนำร่อง • สร้างวิทยากรที่ปรึกษา • สร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล • ศึกษาและพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ส่งเสริมและผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • อบรม Application Report และ Tools ต่างๆ • เปิดตัวและประชาสัมพันธ์รางวัล PMQA • พัฒนากลไกการบริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา • ขยายการสร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล • สร้างความรู้ ความเข้าใจให้ส่วนราชการต่าง ๆ • สร้างผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร • สร้างวิทยากรตัวคูณ • สร้างกรมนำร่อง • ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ • อบรมคณะทำงาน Working Team ของทุกส่วนราชการ • ขยายการสร้างผู้ตรวจประเมินรางวัล • ส่งเสริมส่วนราชการเข้าสู่ Fast Track • กำหนดเกณฑ์คะแนนรางวัลคุณภาพฯ และมาตรฐานคุณภาพการบริหารจัดการที่ยอมรับได้ • บริหารเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษา • ส่งเสริมผลักดันให้ส่วนราชการเข้าสมัครรับรางวัล PMQA • พัฒนากลไกการส่งเสริมให้ส่วนราชการนำไปปฏิบัติ(PMQA Promotion Program)

  9. การดำเนินการตามตัวชี้วัดการดำเนินการตามตัวชี้วัด

  10. ตัวชี้วัดที่ 21ระดับสถาบันอุดมศึกษา

  11. สำหรับสถาบันอุดมศึกษาทั้งเก่า (17 แห่ง) และใหม่ (3 แห่ง) สำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่ได้เลือกตัวชี้วัดนี้ในปี 2549 ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ให้ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร และรายงานผลการดำเนินการ ที่จัดทำไว้แล้วในปี 2549

  12. การดำเนินการขั้น 1 : แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) จัดประชุมชี้แจง • คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย 2 คณะ คือ • คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) • คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(Working Team)

  13. แนวทางการจัดตั้งSteering Committeeระดับคณะ ผู้บริหารสูงสุด (คณบดี) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองคณบดี) ผู้บริหารระดับรอง (ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง) ผู้บริหารระดับรอง รองคณบดี (ที่ได้รับมอบหมาย) รองประธาน หน้าที่ : กำหนดนโยบาย กรอบทิศทางการดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา Working Team ในการดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามกรอบทิศทาง รวมทั้ง จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

  14. แนวทางการจัดตั้งWorking Teamระดับคณะ หัวหน้าคณะทำงาน (รองประธาน Steering Committee) เลขานุการคณะทำงาน เจ้าภาพ (Category Champion) 1..2..3..4..5..6 ผู้ประสานงาน เลขานุการหมวด หน้าที่ : จัดเตรียมข้อมูลและสนับสนุนองค์กรในเรื่องต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการประเมินองค์กร ดำเนินการประเมินองค์กรตามเกณฑ์ จัดทำรายงานผลการดำเนินการขององค์กร วิเคราะห์หาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง จัดทำแผนปรับปรุงและเสนอผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบ

  15. แนวทางการตอบคำถามขั้น 1 : ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนราชการต้องตอบทุกคำถาม (15 คำถาม) โดย • คำถามที่มีเครื่องหมาย (#)เป็นคำถามบังคับ ต้องตอบคำถามโดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ • คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย (#) • ตอบโดยยังไม่มีความสมบูรณ์ (ทำบางส่วนของคำถาม) • ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบว่า “ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ..........” (ให้ระบุปัญหาหรือสาเหตุที่ยังไม่ได้ดำเนินการ) • คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบว่า “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้” • คำถามที่มีเครื่องหมายดอกจัน (*) ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น

  16. แนวทางการประเมินผลขั้น 1 : ลักษณะสำคัญขององค์กร • พิจารณาจากเอกสาร/บันทึกการประชุม ที่มีเนื้อหาแสดงถึงการทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร ปี 49 (เฉพาะกรณีสถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง) • พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด

  17. แนวทางการประเมินผล ขั้น 2 : รายงานผลการดำเนินการขององค์กร • พิจารณาจากเอกสาร/บันทึกการประชุม ที่มีเนื้อหาแสดงถึงการทบทวนรายงานผลการดำเนินการขององค์กร ปี 49 (เฉพาะกรณีสถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการต่อเนื่อง) • พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลการดำเนินการขององค์กร คือ จำนวนข้อที่ตอบคำถามตามแนวทางที่กำหนด

  18. การดำเนินการขั้น 3 : ประเมินองค์กรด้วยตนเอง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง • จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง คือ การนำ “โอกาสในการปรับปรุง” ที่พบกระจัดกระจายจากการประเมิน มาจัดลำดับความสำคัญเพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับความจำเป็นเร่งด่วนและทรัพยากรที่องค์กรมี Tips ! ใช้หลัก Vital Few

  19. การดำเนินการขั้น 4 : การจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร • ให้เลือก 2 แผน มาดำเนินการในปี 50 โดยมีแนวทางคัดเลือก • เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการปรับปรุง • มีงบประมาณรองรับดำเนินการ • สอดคล้องกับแผนอื่น ๆ ที่จะต้องดำเนินการอยู่แล้ว เช่น แผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง หรือแผนการจัดการความรู้

  20. แนวทางการประเมินผล ขั้น 4 : การจัดทำแผนปรับปรุงองค์กร • ส่วนราชการส่งแผนฯ ไปยังภารกิจการบริหารการเปลี่ยนแปลง ภายใน 30 มิ.ย. 50 • หากเป็นแผนระยะยาว ผลการดำเนินการในปี 50 ต้องเป็นกิจกรรมที่มีผลผลิต/ผลลัพธ์ที่บ่งชี้ถึงก้าวหน้าที่สำคัญของแผน หากกำหนดเฉพาะกิจกรรมที่มิใช่สาระสำคัญหรือไม่มีความชัดเจน หรือไม่สอดคล้องกับการจัดลำดับความสำคัญ ปรับลดคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดลง 0.25 คะแนน

  21. การดำเนินการขั้น 5 : การวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปรับปรุงองค์กร โดยที่

  22. แนวทางการประเมินผล ขั้น 5 : การวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปรับปรุงองค์กร • พิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยความสำเร็จของการดำเนินการตามแผน

  23. ระดับชั้นของเกณฑ์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ 1. การนำองค์กร 7 หมวด 17 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)

  24. หลักทำ : 7 Category P. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1.การจัดทำกลยุทธ์ 2.2.การนำถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำ ไปปฏิบัติ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1.ระบบงาน 5.2.การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ 5.3.การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจของ บุคลากร 7. ผลลัพธ์การดำเนินงาน 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพ 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพ 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร 1.การนำองค์กร 1.1. การนำองค์กร 1.2. ความรับผิดชอบต่อสังคม 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1.ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2.ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.การจัดการกระบวนการ 6.1.กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2.กระบวนการสนับสนุน 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1.การวัดและวิเคราะห์การดำเนินการของส่วนราชการ 4.2.การจัดการสารสนเทศและความรู้

  25. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

  26. การตอบคำถาม

  27. การตอบคำถาม

  28. การตอบคำถาม

  29. การตอบคำถาม

  30. การตอบคำถาม

  31. การตอบคำถาม

  32. การตอบคำถาม

  33. การตอบคำถาม

  34. การตอบคำถาม

  35. การตอบคำถาม

  36. การตอบคำถาม

  37. การตอบคำถาม

  38. การตอบคำถาม

  39. การตอบคำถาม

  40. หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ

  41. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน

  42. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ

  43. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ

  44. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

  45. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน

  46. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ • ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลการดำเนินงานด้านงบประมาณและการเงิน • ผด้านความรับผิดชอบด้านการเงินทั้งภายในและภายนอก • ผลด้านการปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ กฏหมาย • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดีในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้าน พฤติกรรมที่มีจริยธรรม ความไว้วางใจที่มีต่อผู้นำ การกำกับดูแลตัวเองที่ดี พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนจริยธรรม • ผลของวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลของตัวชี้วัดด้านคุณค่าจากมุมมองของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการกล่าวถึงองค์กรในทางที่ดี และ การสร้างความสัมพันธ์ • ผลการดำเนินการด้านขอบเขต ขนาด และประเภทการให้บริการที่เพิ่มขึ้น (*) • ผลการดำเนินการที่สำคัญอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  47. ข้อพึงระวังในการตอบคำถาม • ตอบคำถามได้ตรงตามประเด็นคำถาม ครบถ้วน ครอบคลุม • ตอบตามความเป็นจริงตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา • ตอบตามกระบวนการจัดการที่ดี (ADLI) และตามระบบผลลัพธ์ (LeTCLi) • คำตอบควรสมบูรณ์จบประเด็นในข้อของตัวเอง • หากต้องมีการอ้างอิงเชื่อมโยงจากหัวข้ออื่น ให้อ้างถึงข้อนั้นโดยไม่ต้องรายงานข้อมูลซ้ำซ้อน • พยายามเลือกใช้คำที่กระชับ ตรงประเด็น ชัดเจน มากกว่าคำกว้างๆเกินไป • ควรเพิ่มการอธิบายถึง หลักฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประกอบพอสมควร • ต้องตระหนักว่า กำลังเขียนเพื่อให้คนอื่นเข้าใจการกระทำของเราที่ ถูกต้องชัดเจน ตามความเป็นจริง • รายงานนี้ ยังไม่ใช่รายงานตรวจประเมินเพื่อประกวดรางวัล (Application report) • วัตถุประสงค์เพื่อรายงานสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ยังไม่มีการประเมินค่าแต่อย่างใด (จะมีการประเมินในขั้นตอนหลังการทำรายงานนี้)

  48. ประเภทคำถาม : หมวด 1-6อะไร WHAT WHAT

  49. ประเภทคำถาม : หมวด 1-6อย่างไร HOW : ADLI HOW

  50. วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI Approach A • ตาราง • แผนภาพ • บรรยาย • มีวิธีการหรือแผนที่มุ่งบรรลุผลองค์กร • เป็นระบบชัดเจน ทำซ้ำได้ ตรวจตามได้ • อยู่บนฐานข้อมูลจริง บูรณาการ มุ่งปรับปรุง Deployment D • ตาราง • แผนภาพ • บรรยาย • ทำครอบคลุมทุกขั้นตอนตามแผน • ทำทุกหน่วยงาน ทุกคนที่เกี่ยวข้อง • ทำทุกขั้นตอน ทำจริงจัง Learning L • ตาราง • แผนภาพ • บรรยาย • ติดตามประเมินผลลัพธ์ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สู่การปรับปรุง Integration I • ตาราง • แผนภาพ • บรรยาย • ความสอดคล้องระหว่าง • แผน ปฏิบัติ วัดวิเตราะห์ ปรับปรุง • มุ่งสู่เป้าหมายองค์กร

More Related