1 / 94

การนำองค์การเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

การนำองค์การเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA. Public Sector Management Quality Award. เหตุผลความจำเป็นของการดำเนินงาน PMQA แนวคิดและความเป็นมาของเกณฑ์ PMQA ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประโยชน์ต่อส่วนราชการ

sanaa
Download Presentation

การนำองค์การเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำองค์การเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

  2. Public Sector Management Quality Award • เหตุผลความจำเป็นของการดำเนินงาน PMQA • แนวคิดและความเป็นมาของเกณฑ์ PMQA • ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ • กับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ประโยชน์ต่อส่วนราชการ • กรอบการประเมินปี 2552 • ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • แนวทางการดำเนินงาน • เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • - ลักษณะสำคัญขององค์กร • - เกณฑ์หมวด 1 - 7

  3. Public Sector Management Quality Award : PMQA • แนวทางการประเมินองค์กรหมวด 1 - 6 (ADLI) • หมวด 7 (LeTCLi) • การวิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง • การจัดลำดับโอกาสในการปรับปรุง • การจัดทำแผนปรับปรุง

  4. คุณภาพ ในที่นี้ หมายถึง คุณภาพของการบริหารจัดการ ที่ส่งผลให้องค์กรบรรลุผลลัพธ์ ตามเป้าหมายและทิศทางเชิงกลยุทธ์ โดยตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

  5. ที่มาของการปฏิรูประบบราชการที่มาของการปฏิรูประบบราชการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนการบริหาร ราชการ แผ่นดิน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบฯว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  6. ความเป็นมา ปฏิรูประบบราชการ 3ต.ค. 2545 • พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน( ฉบับที่ 5)พศ.2545 • พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พศ. 2546 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พศ. 2546 – 2550) • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย

  7. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)

  8. Management Frameworks 75 MBNQA TQA PMQA TQM หลักธรรมต่าง ๆ Management & Improvement Tools Quality Systems & Standards SS BM BSC KM KS QCC TPM CRM Six Sigma ISO HA HPH HNQA HACCP

  9. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 การบริหารภาครัฐแนวใหม่ การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ • การจัดทำยุทธศาสตร์ • การวางวิสัยทัศน์และการคิดเชิงกลยุทธ์ • แผนที่ยุทธศาสตร์ • การบริหารความเสี่ยง • วางแผนโครงการ • การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ • .คำรับรองการปฏิบัติราชการ • BSC • Individual Scorecard • การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ • การจัดโครงสร้างองค์กร(GO/PO/SOE/SDU/etc.) • การปรับปรุงกระบวนการ • IT (e-Gov) • ขีดสมรรถนะบุคลากร(Competency) • วัฒนธรรมองค์กร • การจัดการความรู้ • กฎหมาย รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐ กิจและสังคม Globalization คตป Making strategy works Good strategy comes first Public Sector Management Quality Award (PMQA)) ความสอดคล้องของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐบกับทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย

  10. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) 1. การนำองค์กร (มาตรา 8,9,12,16, 18,20,23,27,28, 43,44,46) 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ (มาตรา 9,12,16 ,18,45) 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31,38-42 ,45) 6. การจัดการ กระบวนการ (มาตรา 10,20,27, 28,29,31) 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39) ภาพที่ 1 ความเชื่อมโยงระหว่างพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  11. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 (Good Governance: GG) ส่วนราชการมีเป้าหมายการพัฒนาเป็นรูปธรรม • ส่วนราชการประสบปัญหาว่า • จะทำอย่างไร • ใช้เครื่องมือตัวไหนมาช่วย • สงสัยว่าการบริการใน ปัจจุบันเป็นไปตาม GG • หรือยัง • บอกแต่เป้าหมาย ของ GG • ไม่ได้บอกวิธีการหรือแนว ทางให้ส่วนราชการไปถึงเป้าหมาย

  12. หมวด 1 การองค์กร มาตรา 8 9 12 16 18 20 23 27 28 43 44 46 ตารางที่ 1 สรุปสาระสำคัญของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการดำเนินการด้วยความโปร่งใส เปิดเผยและซื่อสัตย์สุจริต มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและลดขั้นตอนรวมทั้ง ก่อนเริ่มดำเนินการใด ๆ ส่วนราชการต้องวิเคราะห์ผลดี และผลเสีย และคำนึงถึงผลกระทบต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นต่อประชาชน เป็นการตรวจประเมินวิธีการที่ผู้บริหารขององค์กรชี้นำและกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวังในผลการดำเนินการขององค์กรโดยให้ความสำคัญกับวิธีการที่ผู้บริหารขององค์กรสื่อสารกับบุคลากร และการสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมการดำเนินการที่ดี รวมถึงระบบการกำหนดดูแลตนเองที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งการสนับสนุนชุมชน หมวด2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ มาตรา 6 8 9 12 1 3 16 มุ่งเน้นการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ โดยให้จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี เป็นการตรวจประเมินการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์การวางแผนปฏิบัติการ การถ่ายทอดเพื่อนำแผนไปปฏิบัติ วิธีการที่องค์กรปรับเปลี่ยนแผนเมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป และวิธีการวัดความสำเร็จ

  13. มาตรา 8 30 31 38 39 40 41 42 45 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งเน้นให้ส่วนราชการต้องรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเพื่อปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้เหมาะสม จะต้องอำนวยความสะดวก และความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับส่วนราชการทุกแห่งรวมทั้ง มีการจัดการข้อร้องเรียน หรือข้อเสนอแนะโดยทันที เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการกำหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร รวมถึงส่วนราชการมีการดำเนินการอย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการกำหนดปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจ และนำไปสู่การกล่าวถึงส่วนราชการในทางที่ดี หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ มาตรา 11 39 มุ่งเน้นให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน รวมทั้ง ให้ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้องค์การแห่งการเรียนรู้ เป็นการตรวจประเมินว่าส่วนราชการเลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการและปรับปรุงข้อมูล และสารสนเทศ และการจัดการความรู้อย่างไร

  14. มาตรา 10 11 27 47 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 5 การุม่งเน้นทรัพยากรบุคคล มุ่งเน้นให้ส่วนราชการมีระบบงานที่เน้นการบริหารราชการแบบบูรณาการ โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ เกี่ยวกับการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติเพื่อให้เกิดความสะดวก และรวดเร็วในการบริการประชาชน รวมทั้ง มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ โดยเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน เป็นการตรวจประเมินว่าระบบงาน และระบบการเรียนรู้ของบุคลากรลการสร้างแรงจูใจ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเอง และใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งมั่นไปในแนวทางเดียวกันกับเป้าประสงค์และแผนปฏิบัติการ โดยรวมของส่วนราชการอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินความใส่ใจ การสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสู่ผลการดำเนินการที่เป็นเลิศและความเจริญก้าวหน้าของบุคลากร และส่วนราชการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ มาตรา 10 20 27 28 29 31 มุ่งเน้นให้ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ และจัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว และลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการโดยการมอบอำนาจ เป็นการตรวจประเมินการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สำคัญที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจของส่วนราชการ ตลอดจน กระบวนการสนับสนุนที่สำคัญต่าง ๆ

  15. มาตรา 9, 12, 16, 18, 45 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการ โดยให้จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ รวมทั้งจัดให้มีการประเมินผลและให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ เป็นการตรวจประเมินผลการดำเนินการ และแนวโน้มของส่วนราชการในมิติต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการประเมินผลแบบสมดุล (Balanced Scorecard) เพื่อให้สอดรับกับระบบการประเมินผลที่ส่วนราชการได้ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบการประเมินผล 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร

  16. ก้าวต่อไปของการยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐก้าวต่อไปของการยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555) ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ว่าด้วยการมุ่งการเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง ได้กำหนดเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐภายในปี 2555 ดังนี้“ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงานตามแผนพัฒนาองค์การไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายดังกล่าว ก.พ.ร. จึงได้กำหนดเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้ หรือ Acceptable Level เพื่อเป็นแนวทางการประเมินองค์การและเป็นกรอบในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การของส่วนราชการ

  17. 2552 2553 2554 ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพื่อให้ส่วนราชการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้ ก.พ.ร. ได้วางแผนการดำเนินการ หรือ Roadmapไว้เป็นขั้นตอน โดยให้แต่ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาองค์การให้ผ่านเกณฑ์ ฯ ปีละ 2 หมวดจนครบถ้วน    หน่วยงานให้บริการ    เน้นความสำคัญกับผู้บริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ    หน่วยงานเชิงนโยบาย    เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ    จังหวัด    หมวด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง      สถาบันอุดมศึกษา      เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากร เพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง   แนวทางการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในช่วงระยะ ปี พ.ศ. 2552 - 2554

  18. วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราช-กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเองและเป็นบรรทัดฐาน การติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

  19. ลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ • เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุงทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด • เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์ เพื่อให้เกิดการบูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม

  20. ประโยชน์ต่อส่วนราชการประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ ผ่าน การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ไม่ผ่าน ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 วิธีการ เป้าหมาย ผล ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครง การต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

  21. คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล แผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government MIS ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐกับสิ่งที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่

  22. หลักคิด : 11 Core Values Systems Perspective มองเชิงระบบ Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม Agility คล่องตัว 11 8 6 Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 1 4 10 5 7 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง 2 Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Lead the organization Manage the organization Improve the organization 22

  23. ค่านิยมหลักและเกณฑ์ โครงสร้างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  24. แผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 • ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ • วางหลักเกณฑ์รางวัล“คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ” (Public Sector Management Quality Award - PMQA) • จัดวางระบบการดำเนินงาน และการสร้างความพร้อม ให้ส่วนราชการต่าง ๆ • การสร้างความรู้ความเข้าใจ • การเตรียมความพร้อมให้ ส่วนราชการต่างๆ โดยการสร้างผู้ตรวจประเมินภายใน และวิทยากรตัวคูณ • สร้างกลไกภายในสำนักงาน ก.พ.ร. • สนับสนุนให้ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ • สนับสนุน ส่งเสริมส่วนราชการให้ยกระดับการปฏิบัติงานเพื่อขอสมัครเข้ารับรางวัล • เตรียมการวางระบบผู้ตรวจประเมินรางวัล เพื่อตรวจประเมิน ตัดสินให้รางวัล • ส่งเสริมให้มีหน่วยงานต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  25. แผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(ต่อ)แผนการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(ต่อ) ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 • ตัวชี้วัดบังคับ 5 คะแนน • เน้นการ ปรับปรุงและพัฒนาองค์กร โดยใช้เครื่องมือทางการบริหาร • 20 คะแนน • ตัวชี้วัดบังคับ • 22 คะแนน

  26. การนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการนำองค์กรเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

  27. การเตรียมความพร้อมภายในองค์กร สร้างความรู้ ความเข้าใจ กำหนดผู้รับผิดชอบ กำหนดเป็นนโยบาย จัดทำแผนดำเนินการ

  28. การกำหนดทีมงานผู้รับผิดชอบการกำหนดทีมงานผู้รับผิดชอบ

  29. แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่แผนภูมิแสดงโครงสร้างและหน้าที่ คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) - กำหนดนโนบาย กรอบแนวทาง - ส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษา - ติดตาม เร่งรัดการดำเนินการ หน้าที่ คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) • - จัดเตรียมข้อมูล • - ประเมินองค์กรด้วยตนเอง • วิเคราะห์และประเมินเพื่อหาจุดแข็ง • และโอกาสในการปรับปรุงองค์กร • - จัดทำรายงานผลการดำเนินการ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6

  30. การจัดทำ แผนการดำเนินงาน PMQA

  31. แผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐแผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่าง

  32. บทบาทผู้บริหาร • ศึกษาแนวคิดและหลักการของPMQA/TQA เพราะPMQA คือคุณภาพการบริหารองค์กร ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารไม่ใช่ของใคร • ขายฝันและเป็นพี่เลี้ยงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องPMQA • ทบทวนข้อมูลและร่วมกันกำหนดเป้าหมายสู่ความเป็นเลิศ • ให้เวลาและพูดคุยเรื่องการมุ่งสู่ความเป็นเลิศบ่อยๆและบ่อยๆ • ให้ความสำคัญและจริงจังกับการประเมินองค์กร การค้นหาโอกาสการพัฒนาและแผนการพัฒนาองค์กรที่กำหนด • สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ • หมั่นติดตามความก้าวหน้าและหาทางแก้ไขปัญหาให้ลุล่วง

  33. ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการดำเนินการปัจจัยสู่ความสำเร็จในการดำเนินการ • ผู้บริหารต้องให้ความสำคัญ • มีทีมงานที่เข้มแข็ง • ทุกคนมีส่วนร่วม • ทำไปพร้อมกันทุกหน่วยงาน • ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

  34. เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA

  35. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร/การกำกับดูแลตนเองที่ดี 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน (คู่เทียบ) 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 35

  36. หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ (8)8 การดำเนินการต่องานที่มีผลกระทบทางลบต่อสังคม (เกิดเหตุการณ์แล้ว) (9)9what การจัดการผลกระทบ 9.1กระบวนการ 9.2เป้าประสงค์ 9.3ตัวชี้วัด 9.4(ค่า)เป้าหมายในการจัดการผลกระทบ (10)10 การจัดการผลกระทบทางลบ 10.1 การคาดการณ์ผลกระทบทางลบ (ประเมิน) 10.2 การเตรียมการเชิงรุกต่อผลกระทบ (ป้องกัน) (4)4 การทบทวนผลดำเนินการ 4.1 การทบทวนผลดำเนินการ 4.2 การนำผลประเมินไปเพื่อดูการบรรลุเป้าหมาย และ เพื่อประเมินการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (5)5 what ตัวชี้วัดสำคัญ 5.1ตัวชี้วัด 5.2ผลการทบทวนที่ผ่านมา (6) การใช้ผลการทบทวนเพื่อจัดลำดับความสำคัญและเพื่อการปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร (7)7 การประเมินผลงานผู้บริหาร 7.1 ประเมินผู้บริหาร 3ระดับชั้นบังคับบัญชา 7.2 การนำผลประเมินไปปรับระบบการนำองค์กร (11)11 การกำหนดวิธีปฏิบัติให้ทำอย่างมีจริยธรรม (ปฏิบัติต่อคนภายนอก) (1)1 ทิศทาง 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 เป้าประสงค์ระยะสั้น/ยาว 1.3 ค่านิยม 1.4 ผลดำเนินงานที่ คาดหวัง (2)2 นโยบาย/วิธีปฏิบัติ(สร้างบรรยากาศ) 2.1 กระจายอำนาจ 2.2 นวัตกรรม 2.3 ความคล่องตัว 2.4 การเรียนรู้ขององค์กร 2.5 การเรียนรู้ของบุคคล 2.6 การทำถูกกฏหมาย 2.7 ทำตามหลักจริยธรรม • (12)12 การสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ • การเลือกชุมชน • การเลือกกิจกรรมสนับสนุนชุมชน • การมีส่วนร่วมของบุคลากร (3)3 การกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.1 ด้านการปฏิบัติงาน 3.2 ด้านการเงินป้องกันทุจริต 3.3 ด้านปกป้องประโยชน์ประเทศและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย How 10 What 2 36

  37. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การนำองค์กร • สร้างทีมผู้นำที่เข้มแข็งโดยไม่ให้ความสำคัญเพียงผู้หนึ่งผู้ใดเท่านั้น • ผู้บริหารมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญทุกกลุ่ม อย่างเป็นประจำ • สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ทำให้องค์กรบรรลุค่านิยมที่ต้องการ • สื่อสารกับบุคลากรทุกคนอย่างสม่ำเสมอและเปิดเผย จริงใจ • นำผลการทบทวนผลการดำเนินการขององค์กรมาช่วยในการวางแผนและตัดสินใจ • มองถึงโอกาสในอนาคตที่จะปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 37

  38. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ • (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ • 1.1 แผนระยะยาว (4 ปี) • 1.2 แผนระยะสั้น (1 ปี) • ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง • กรอบเวลาและเหตุผล • กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา • (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ • 2.1 ปัจจัยภายใน • 2.2 ปัจจัยภายนอก • ปัจจัยต่างๆ • การรวบรวม • การวิเคราะห์ • (15)3 what • 3.1 ประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • 3.2เป้าหมายและระยะเวลา • 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ • (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • ดูความท้าทาย • ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว • ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ • 5.1 วิธีการถ่ายทอด • 5.2 การจัดสรรทรัพยากร • 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน • (18)6 แผนปฏิบัติการ • 6.1 what • แผนปฏิบัติการที่สำคัญ • 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) • จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (19)7what • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • 7.14ปี • 7.21ปี • (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ • 8.1 what • ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ • 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ • เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score How 5 What 4 38

  39. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • วิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการดำเนินงานโดยใช้เทคนิค SWOT • ใช้เวลา 1-2 เดือนในการวางแผนปฏิบัติงานประจำปีและแผนงานระยะยาว • กระบวนการวางแผน มุ่งเน้นที่การคิดกลยุทธ์ ไม่ใช่การทำเอกสาร • กำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจที่ชัดเจน มีการระบุปัจจัยแห่งความสำเร็จ เป้าหมาย วัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ • เชื่อมโยงเป้าหมายกับความต้องการของผู้รับบริการยุทธศาสตร์ขององค์กร และการประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กร 39

  40. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • ระบุปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้องค์กรตอบสนองต่อความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ตั้งเป้าหมายที่วัดผลได้ เพื่อใช้สำหรับการวัดผลการปฏิบัติงาน • นิยามกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนเพื่อสามารถนำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายองค์กร • สื่อสารแผนงานกับบุคลากรทุกระดับ รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจถึงบทบาทที่ต้องปฏิบัติตามแผนงาน • มีการตอบสนองอย่างรวดเร็วในการปรับเปลี่ยนเป้าหมาย และกลยุทธ์ เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป 40

  41. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ • ตอบสนองความคาดหวัง • สร้างความประทับใจ • มีภาพลักษณ์ที่ดี • มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น * • (26)5 การสร้างระบบให้ผู้รับบริการ • 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถติดต่อ • ขอข้อมูล • ขอรับบริการ • ร้องเรียน • 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร • ระบบติดตามการปฏิบัติ • (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน • กระบวนการจัดการ • วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที • รวบรวมและวิเคราะห์นำไปเพื่อการปรับปรุง • (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ • 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้สวนเสีย • 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ • สร้างความประทับใจ • ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี • ปรับปรุงการทำงาน • (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ • ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที • นำไปใช้ต่อได้ • (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้สวนเสีย • (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ประเภท/กลุ่ม • การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต • (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ • 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง • 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง • (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย How 11 What 0 41

  42. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีการแบ่งกลุ่มผู้รับบริการอย่างชัดเจน • ใช้วิธีการที่หลากหลายในการระบุความต้องการของผู้รับบริการและการจัดลำดับความสำคัญของผู้รับบริการ • มีการประเมินและปรับปรุงวิธีในการพิจารณาความต้องการของผู้รับบริการอย่างต่อเนื่อง • มีการวิจัยเพื่อระบุถึงผู้รับบริการในอนาคต รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการ • คัดเลือกคนดี ฉลาดและมีไหวพริบที่สุดในการติดต่อกับผู้รับบริการโดยให้ผลตอบแทน การฝึกอบรม และอำนาจการตัดสินใจให้กับบุคลากรเหล่านี้ • กำหนดมาตรฐานในการให้บริการที่สามารถวัดได้ รวมทั้งต้องมีการวัดผลการดำเนินงาน 42

  43. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ต้องมีช่องทางในการติดต่อที่สะดวกและหลากหลายให้กับผู้รับบริการ • มีการติดตามและแก้ไขกับทุกข้อร้องเรียนอย่างรวดเร็ว • รวบรวมข้อมูลทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อให้ ทุกคนได้มีโอกาสได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลนั้นได้ และเพื่อผลักดันให้เกิดการปรับปรุง • เปรียบเทียบความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการกับหน่วยงานที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน 43

  44. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก.ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ ก.การวัดผลการดำเนินการ ข.การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ • (41)9 การจัดการความรู้ • (KM) • รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร • รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น • แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ • ความครอบคลุม • .ความรวดเร็ว • ความถูกต้อง • ความทันสมัย • ความเชื่อมโยง • ความน่าเชื่อถือ • ความสามารถในการเข้าถึง • ความสามารถในการตรวจสอบ • การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล • ความปลอดภัย • การรักษาความลับ • (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล • 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ • ที่สอดคล้องเชื่อมโยง • เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร • 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ • สนับสนุนการตัดสินใจ • สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม • (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ • สนับสนุนการตัดสินใจ • สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม • (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล • 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ • จากการเปลี่ยนแปลงภายใน • จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก • (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ • (IT) • ให้พร้อมใช้งาน • ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ • ให้เชื่อถือได้ • ปลอดภัย • ใช้งานง่าย • (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย KM • (36)4 what • ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร • ทบทวนผลดำเนินงาน • วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ • เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ IT IT How 9 What 1 44

  45. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • ตัวชี้วัดมีความเชื่อมโยงกับภารกิจและกลยุทธ์ขององค์กร • จำนวนของตัวชี้วัดที่ผู้บริหารหรือผู้จัดการทบทวนต้องมีไม่เกิน 20 ตัว • สร้างความสมดุลระหว่างมุมมองของทุกตัววัดที่มีการเก็บและทบทวน • มุ่งมั่น และให้ความสำคัญในการให้ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • สร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดที่เป็นเหตุและเป็นผล • ใช้เวลาในการมุ่งเน้นตัวชี้วัดที่นำไปสู่ความสำเร็จในอนาคต พอๆ กับตัวชี้วัดของผลงานในอดีตและปัจจุบัน 45

  46. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • สื่อสารข้อมูลผลการดำเนินการที่ทันสมัยอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้กราฟ รูปแบบในการนำเสนอที่เข้าใจได้ง่ายให้ทั่วทั้งองค์กร • ใช้ซอฟแวร์ที่มีขายทั่วไปหรือมีการออกแบบให้เหมาะสม กับความต้องการของภารกิจ • ใช้ระบบการสื่อสารภายในผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ เพื่อสื่อสารข้อมูลผลการดำเนินการให้กับผู้ที่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลในเวลาที่เหมาะสม • มีการจัดทำมาตรฐานสำหรับวิธีในการเก็บข้อมูลและการทำรายงานเพื่อที่จะมั่นใจได้ว่าข้อมูลนั้นมีความถูกต้อง • มีการประเมินและปรับปรุงฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ใช้สำหรับ การเก็บข้อมูล การรายงานผลและการวิเคราะห์อย่างสม่ำเสมอ 46

  47. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ ก. การจัดและบริหารงาน ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ก. การพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • (43)1 การจัดการระบบงาน • 1.1 ระบบที่เป็นทางการ • 1.2 ระบบไม่เป็นทางการ • เพื่อเกิดความร่วมมือ • เพื่อสร้างความคิดริเริ่ม • เพื่อการกระจายอำนาจ • เพื่อกระตุ้นนวัตกรรม • เพื่อความคล่องตัว • เพื่อให้ทันความต้องการอยู่เสมอ • (44)2 การนำวัฒนธรรมและความคิดของบุคลากร • และชุมชนมาใช้จัดระบบงาน • (45)3 การจัดระบบสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร • ให้มีประสิทธิผล • (51)9 การพัฒนาบุคลากร • เพื่อให้ทำงานได้ตามแผนปฏิบัติการและบรรลุผล • เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างเป้าประสงค์กับความต้องการของบุคลากร • (52)10 การให้การศึกษาและฝึกอบรม • ให้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ • การอบรมบุคลากรใหม่ • จริยธรรม • การบริหารจัดการ • การพัฒนาภาวะผู้นำ • ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อมในการทำงาน • ความต้องการอื่นๆที่สำคัญ • (53)11 การบริหารการฝึกอบรม • 11.1 การหาความต้องการการฝึกอบรม • 11.2 การนำความต้องการการอบรมมาพัฒนาบุคลากร • 11.3 การนำความรู้ในองค์กรมาพัฒนาบุคลากร • (54)12 การพัฒนาบุคลากร • 12.1แบบเป็นทางการ • 12.2แบบไม่เป็นทางการ • (47)5 การกำหนดคุณลักษณะและทักษะบุคลากร • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะประจำสายงาน • สมรรถนะแต่ละกลุ่มตำแหน่ง • (48)6 การสรรหาว่าจ้าง รักษาบุคลากร • 6.1 การสรรหาว่าจ้าง • 6.2 การรักษาบุคลากร • ด้วยการคำนึงถึงวัฒนธรรมความคิดของบุคลากรและชุมชน • (49)7 การเตรียมบุคลากรและความก้าวหน้าในงาน • 7.1 การเตรียมบุคลากรในตำแหน่งสำคัญ • 7.2 การสร้างความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • (50)8 การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นให้มีโอกาสก้าวหน้า • (46)4 ระบบประเมินผลและการยกย่องชมเชย • (Individual Scorecard) • 4.1การจัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน • รวมถึงการแจ้งผล • เพื่อให้พัฒนาและปรับปรุงงาน • 4.2การจัดระบบการยกย่องชมเชยจูงใจ • เพื่อให้มีขวัญกำลังใจ • เพื่อให้ทำงานมีประสิทธิผล • เพื่อให้มีจิตสำนึกที่เน้นประโยชน์ของผู้รับบริการ (57)15 การทำให้บุคลากรพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในงาน 15.1 การช่วยเหลือองค์กร 15.2 การช่วยเหลือของหัวหน้างาน (55)13 การส่งเสริมให้นำความรู้และทักษะจากการอบรมมาใช้ในการปฏิบัติงาน (56)14 การประเมินประสิทธิผลของการศึกษาอบรม 14.1 ผลระดับบุคคล 14.2 ผลระดับองค์กร HR Scorecard 47 How 21 What 0

  48. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร ก. สภาพแวดล้อมในการทำงาน • (58)16 การจัดระบบสภาพแวดล้อมการทำงาน • ถูกสุขอนามัย • ความปลอดภัย • การป้องกันภัย • ความเหมาะสมในงาน • การกำหนดตัวชี้วัด • การมีส่วนร่วมของบุคลากร • (59)17 การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ • (60)18 การกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุกพอใจจูงใจ ของบุคลากรทุกระดับทุกประเภท • (61)19 การสนับสนุนด้านนโยบายสวัสดิการการบริการให้ตรงความต้องการบุคลากรทุกระดับทุกประเภท • (62)20 การประเมินความพอใจบุคลากร • 20.1การประเมินความพอใจบุคลากร • ทุกระดับทุกประเภทของบุคลากร • เป็นทางการ • ไม่เป็นทางการ • 20.2การกำหนดและใช้ตัวชี้วัดประเมินความพอใจ • (63)21 การเชื่อมโยงผลประเมินความพอใจกับผลลัพธ์องค์กร เพื่อจัดลำดับการปรับปรุงความพอใจบรรยากาศและสภาพแวดล้อม HR Scorecard 48

  49. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • มีการออกแบบงานและหน้าที่ของบุคลากรที่ส่งเสริมให้เกิด ความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม และพฤติกรรมที่สอดคล้องกับ ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร • มีการยกย่องชมเชยและการบริหารผลตอบแทนที่สอดคล้อง เพื่อเป็นการผลักดันความภักดีและผลการดำเนินการที่ดีของบุคลากร • ดำเนินการให้บุคลากรใหม่ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรได้ • ดำเนินการทำให้ระบบที่มีประสิทธิภาพและมีวัตถุประสงค์ชัดเจนเพื่อจัดการผลการดำเนินการ • จัดทำแผนการฝึกอบรมที่ได้ข้อมูลมาจากบุคลากร โดยข้อมูลนั้นต้องครอบคลุมความต้องการ ระยะเวลาและการวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนในการฝึกอบรม 49

  50. สิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติสิ่งที่องค์กรที่เป็นเลิศปฏิบัติ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • ประเมินผลการฝึกอบรมบนพื้นฐานของการกระทำหลังจาก ฝึกอบรมของผู้ได้รับการอบรมและการปรับปรุงการฝึกอบรม • มุ่งเน้นการทำให้บุคลากรมีความสุขเหนือความต้องการมากกว่า การที่จะแค่สร้างความพึงพอใจให้กับบุคลากร • ดำเนินการจัดการวิธีการในการป้องกันด้านความปลอดภัย และสุขภาพของบุคลากร • มีการเก็บข้อมูลความพึงพอใจของบุคลากรเป็นประจำ โดยเก็บข้อมูลจากพนักงานทุกระดับ • สร้างความสมดุลระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานและชีวิต ครอบครัว 50

More Related