1 / 1

เกณฑ์ TQA/PMQA : มุมมองในเชิงระบบ

การบูรณาการ KM Strategy ไว้ในแผนกลยุทธ์ เป้าหมายระยะสั้น & ระยะยาว และกรอบเวลาใน การบรรลุเป้าหมายของ KM การกำหนด KPIs ของ KM การ Deploy KM ทั่วทั้งองค์กร. โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย. 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์. 5. การมุ่งเน้น บุคลากร. 1. การนำ

odelia
Download Presentation

เกณฑ์ TQA/PMQA : มุมมองในเชิงระบบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบูรณาการ KM Strategy ไว้ในแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะสั้น & ระยะยาว และกรอบเวลาใน • การบรรลุเป้าหมายของ KM • การกำหนด KPIs ของ KM • การ Deploy KM ทั่วทั้งองค์กร โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 1. การนำ องค์กร 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ เกณฑ์ TQA/PMQA : มุมมองในเชิงระบบ • การนำ KM ไปใช้เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจให้ลูกค้า • การรับฟังความต้องการของลูกค้า เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการทำ KM • ผลของ KM ต่อการให้บริการลูกค้า • การเอา KM มาประยุกต์ใช้ในการวัดความพึงพอใจ • ของลูกค้า • KM ช่วยให้มีการปรับปรุงและสร้างนวัตกรรมในการติดตามลูกค้า • KM strategy เชื่อมโยงกับ V/M และ values • การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ • ผู้นำเป็น Role Model ในเรื่องการเรียนรู้ • ผู้นำมีส่วนร่วม (โดยตรง) ในการพัฒนาผู้นำในอนาคต • KM เป็นส่วนหนึ่งของประเมินผลการดำเนินการ • นำ KM มาใช้ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ • กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญๆ • ใช้ KM เพื่อปรับปรุง Key processes • การบูรณาการ KM กับ เครื่องมือ/เทคนิค การ • ปรับปรุงต่างๆ ที่องค์กรใช้ • ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลของ KM กับตัวชี้วัด • ของ Key processes • ทรัพยากรสนับสนุนการดำเนินการ KM • ระบบการติดตามความคืบหน้าการทำ KM การวัดผล KM • ความพร้อมและการเข้าถึงความรู้ที่บุคลากรต้องการใช้ • การเก็บรวมรวมและถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร • ระบบ IT เชื่อถือได้ ไม่มีข้อมูลรั่วไหล และใช้ง่ายไม่ยุ่งยาก • การถ่ายทอดความรู้และเก็บรวมความรู้ระหว่างองค์กรและ • ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และคู่ความร่วมมือ • การค้นหา แบ่งปันและนำ Best Practices ไปปฏิบัติ • โครงสร้างที่เอื้อต่อการทำKM • KM เป็นปัจจัยหนึ่งที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน • KM ช่วยในการกำหนดกำหนดคุณลักษณะ และทักษะของบุคลากร • พฤติกรรมที่สะท้อนว่าองค์กรมีการการจัดการความรู้ • KM เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรม • การผลักดันให้บุคลากรใช้ความรู้และทักษะใหม่ในการทำงาน • และคงความรู้ไว้กับองค์กรในระยะยาว • การถ่ายทอดความรู้จากบุคลากรที่กำลังจะลาออก หรือเกษียณอายุ • ปัจจัยของการจัดการความรู้ที่มีผลต่อความพึงพอใจ ความผาสุก • และการสร้างแรงจูงใจแก่บุคลากร 7. ผลลัพธ์ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

More Related