1 / 57

ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC)

ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC). ประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN และปีที่เข้าร่วม. ปี 2540. ปี 2540. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2538. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2542. ปี 2527. ปี 2510. ASEAN 5 SPANs. ช่วงหวาดหวั่น พ . ศ . 2510-2527 ( 17 ปี ) ช่วงยืดหยุ่น พ . ศ . 2527-2542 (15 ปี)

salena
Download Presentation

ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ASEAN ECONOMIC COMMUNITY(AEC)

  2. ประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN และปีที่เข้าร่วม ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510

  3. ASEAN 5 SPANs • ช่วงหวาดหวั่น พ.ศ.2510-2527 (17 ปี) • ช่วงยืดหยุ่น พ.ศ. 2527-2542 (15 ปี) • ช่วงยุ่งยาก พ.ศ. 2540-2547 (7 ปี) • ช่วงเชื่อมต่อกับภายนอก พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน • รวมกลุ่มเสร็จสิ้น พ.ศ. 2558 (อีก 5 ปี จากนี้)

  4. 1. ช่วงหวาดหวั่นพ.ศ. 2510-2527 (17 ปี)

  5. Vietnam War SEATO

  6. 2. ช่วงยืดหยุ่น พ.ศ. 2527-2542 (15 ปี)

  7. นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้านโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า

  8. การยุติบทบาทของพคท.จากนโยบาย 66/23 และ 65/25

  9. ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด

  10. การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน

  11. 3. ช่วงยุ่งยาก พ.ศ. 2540-2547 (7 ปี)

  12. ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด

  13. 4. ช่วงเชื่อมต่อกับภายนอก พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน FTA ASEAN -China - EU - India - Australia - Pakistan

  14. การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน

  15. ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด

  16. 5. รวมกลุ่มเสร็จสิ้น พ.ศ. 2558 (อีก 5 ปี นับจากนี้)

  17. ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • Free Trade Agreement (ความตกลงการค้าเสรี) • Customs Union (สหภาพศุลกากร) • Common Market (ตลาดร่วม) • Economic Union (สหภาพเศรษฐกิจ) • Political Union (สหภาพการเมือง)

  18. ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • ความตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreement)All barriers to trade among members are removed, but each member can retain its own trade policies with non-members. • สหภาพศุลากร (Customs Union)A type of trade bloc which is composed of a FTA with a common external tariff (but in some cases use of different import quotas.)

  19. ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • ตลาดร่วม (Common Market)Freedom of movement of factors of the production (capital and labor), and of enterprise and services. • สหภาพเศรษฐกิจ(Economic Union)Common currency is established, tax rates are harmonized, and a common monetary and fiscal policy is established.

  20. ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • สหภาพการเมือง (Political Union)Separate nations are essentially combined to form a single nation. The establishment of one parliament towards one political union or nation. (This is a big step psychologically and philosophically in European Union.)

  21. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community: AEC • ประกาศจะไปถึง AEC เมื่อ 2545 มุ่งเป้าหมาย 2563 • ประกาศ Blue Print เมื่อ 2550 • ประกาศเปลี่ยนเป้าหมายให้เร็วขึ้นเป็น 2558

  22. วัตถุประสงค์ของ AEC • สนับสนุนการหมุนเวียนอย่างเสรีของการค้าสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ • สนับสนุนการเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมของ ASEAN • สนับสนุนประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิก ASEAN • ส่งเสริมความร่วมมือนโยบายการเงินและเศรษฐกิจ ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร โครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม กฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือ

  23. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2015 เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค สนับสนุนการพัฒนา SMEs

  24. Blue Print AEC (1) • เลิกภาษี+ขจัด NTBs สำหรับสินค้า • ลดอุปสรรคการเข้าตลาด+เพิ่มสัดส่วนหุ้นให้บุคคลอาเซียนจนถึง 70% • เปิดเสรีการเงิน

  25. Blue Print AEC (2) 4. เปิดเสรีเงินทุนเคลื่อนย้ายและตลาดทุน 5. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 6. อื่นๆ ที่ร่วมมือกันได้ เช่น เกษตร อาหาร ป่าไม้ IP โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน เหมืองแร่ e-Commerce การเงิน SMEs

  26. การเปิดเสรีการค้าสินค้า (Trade in Goods) Intra-ASEAN Trade Single Market & Production Base ASEAN 6  อากรขาเข้า 0% 2553 CLMV  อากรขาเข้า 0% 2558 ภาษีสินค้าอ่อนไหว (Tariff on Sensitive Items)< 5% ภายใน 2558 สินค้าอ่อนไหวของไทยมี 4 รายการ คือ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ

  27. การเปิดเสรีการค้าสินค้า (Trade in Goods) Non-tariff Barriers: NTBs ASEAN 5  ยกเลิกทั้งหมด 2553 ฟิลิปปินส์  ยกเลิกทั้งหมด 2555 CLMV  ยกเลิกทั้งหมด 2558 โควต้าภาษี (Tariff Quota) ใบอนุญาตนำเข้า (Imported Licensing)

  28. ยุทธศาสตร์การแข่งขันการเปิดการค้าเสรีประเภทกลุ่มสินค้ายุทธศาสตร์การแข่งขันการเปิดการค้าเสรีประเภทกลุ่มสินค้า • พัฒนาและผลิตสินค้าที่มีศักยภาพส่งออกสูง • มีมาตรการคุ้มครองการผลิตในประเทศ และไม่ให้มีเงื่อนไขทางการค้าที่เสียเปรียบในการแข่งขันกับสินค้าจากต่างประเทศ อุปกรณ์และเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหาร ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องหนัง พลาสติก เหล็ก แผ่นรีดเย็นและผลิตภัณฑ์เหล็ก ยา ผลไม้สด ปูนซีเมนต์ เฟอร์นิเจอร์ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ปุ๋ย ทองแดง

  29. การเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนการเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) ลงนามเมื่อปี 2538 วัตถุประสงค์ 1) ขยายความร่วมมือในการค้าบริการบางสาขาที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้สมาชิกอาเซียนมากขึ้น 2) ลดอุปสรรคการค้าบริการระหว่างสมาชิก 3) มีเป้าหมายเปิดเสรีอย่างเต็มที่ในปี 2558 (ค.ศ. 2015) หลักการสำคัญ 1) ประเทศสมาชิกเข้าร่วมเจรจาเป็นรอบๆ ละ 2 ปี เพื่อทยอยผูกพันการเปิดตลาดให้มากขึ้นทั้งสาขา (sector) และรูปแบบการให้บริการ (mode of supply) รวมถึงลดข้อจำกัดที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ให้บริการในกลุ่มสมาชิก 2) แต่ละประเทศยังมีสิทธิในการออกกฎระเบียบภายในประเทศของตนเพื่อกำกับดูแลธุรกิจบริการให้มีคุณภาพได้ 3) สมาชิกอาเซียนต้องเปิดตลาดธุรกิจบริการให้แก่กันมากกว่าที่แต่ละประเทศได้มีข้อตกลงไว้กับองค์การการค้าโลก (WTO)

  30. การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) Free Flow of Services 2551 Compilation of NTB (Services) 2552 Set Parameters to Mode 4 liberalization 2553 No restrictions for Mode 1 & 2 2558 Progressively remove Mode 3 limitations เปิดเสรีประเภทอาชีพบริการ CPC ระดับ Sub-sectors (ตามเอกสาร WTO MTN.GNS/W/120) Sub-sectors: 2551 (10), 2553 (15), 2557 (20), 2558 (7)

  31. การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) เพิ่มสัดส่วนการถือครองหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาเซียน Logistics 70% 2556 2549 2551 2553 2558 PIS 12 กลุ่ม 49% 51% 70% สาขาอื่น 30% 49% 51% 70% PIS: Priority Integration Sectors ยานยนต์ ไม้ ยาง สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม ผลิตภัณฑ์เกษตร ผลิตภัณฑ์ประมง สุขภาพ การท่องเที่ยว การบิน โลจิสติกส์ และ e-ASEAN

  32. การเปิดเสรีการลงทุน (Investment) • ใช้ Negative List Approach ในการเปิดเสรีการลงทุน • ให้  ได้รับการปฏิบัติเยี่ยงนักลงทุนในประเทศ • ยกเลิกเงื่อนไขข้อจำกัดและประเภทการลงทุนทั้งหมด • No back-tracking of commitments except with compensation • = Foreign-owned ASEAN based and ASEAN investors ASEAN 6 เปิด 2553 CLMV เปิด 2558

  33. การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน คณะกรรมการประสานงานด้านบริการ (CCS) ข้อตกลงการยอมรับร่วม (MRAs) กรอบความ ตกลงการค้าบริการอาเซียน (AFAS)

  34. การจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการการจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการ สาขาบริการ ตาม W 120 บริการด้านธุรกิจ บริการด้านสื่อสารคมนาคม บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง บริการด้านการจัดจำหน่าย บริการด้านการศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม บริการด้านการเงิน บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม บริการด้านการท่องเที่ยว บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา บริการด้านการขนส่ง บริการอื่นๆ ภาคที่ไม่ใช่บริการ1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต (อุตสาหกรรม)

  35. เป้าหมายผูกพันสาขาบริการในแต่ละรอบเป้าหมายผูกพันสาขาบริการในแต่ละรอบ พ.ศ. 2558 7 สาขา รวมเป็น 127 สาขา พ.ศ. 2557 20 สาขา รวมเป็น 120 สาขา พ.ศ. 2555 20 สาขา รวม เป็น 100 สาขา พ.ศ. 2553 15 สาขา รวมเป็น 80 สาขา

  36. Country A Country A Country B The service crosses the border Supplier A Consumer B Mode 1 (35%) The consumer crosses the border Consumer B Consumer B Supplier A Mode 2 (10-15%) Consumer B Supplier A Supplier A established a commercial presence in country B Mode 3 (50%) Service supplied through presence of natural persons of country A in territory of country B Supplier A Consumer B Mode 4 (1-2%)

  37. รูปแบบการเปิดเสรีการค้าบริการรูปแบบการเปิดเสรีการค้าบริการ การค้าบริการโดยผู้ให้บริการต่างชาติอาจเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services – GATS) กำหนดนิยามการค้าบริการระหว่างประเทศไว้ 4 รูปแบบ (Mode of Supply) ดังนี้ Mode 1 “ส่งบริการข้ามแดน”(Cross Border Supply) Mode 2 “ผู้รับบริการข้ามแดน” (Consumption Abroad) Mode 3 “ธุรกิจข้ามแดน” (Commercial Presence) Mode 4 “ผู้ให้บริการข้ามแดน”(Presence of Natural Person)

  38. การเปิดเสรีการค้าบริการใน AFAS คือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมี การใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติ แตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น กฎหมายที่ดิน ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน ทุนขั้นต่ำในการนำเงิน เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็นต้น Mode 1 National treatment Mode 2 Mode 3 Mode 4

  39. ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน และความก้าวหน้า ประเทศสมาชิกอาเซียนได้มีการลงนามร่วมกันระดับภูมิภาคอาเซียนในข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRA) ทางวิชาชีพไปแล้ว 5 สาขา และได้บรรลุความตกลงระดับเตรียมการสู่ข้อตกลงยอมรับร่วมกันต่อไป ได้แก่ วิชาชีพด้านการสำรวจ ซึ่งมีการลงนามใน ASEAN Framework Arrangement for the Mutual Recognition of Surveying Qualifications และวิชาชีพด้านการบัญชีซึ่งมีการลงนามใน ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services

  40. ความตกลงระดับภูมิภาคอาเซียนสู่การยอมรับร่วมด้านคุณสมบัตินักวิชาชีพความตกลงระดับภูมิภาคอาเซียนสู่การยอมรับร่วมด้านคุณสมบัตินักวิชาชีพ

  41. การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี (Free Flow of Capital) ดำเนินการตามความเห็นชอบของรัฐมนตรีคลังอาเซียน ยกเลิกข้อจำกัดการเคลื่อนย้ายเงินทุนในอาเซียน

  42. ยุทธศาสตร์การเปิดการค้าเสรีบริการและการลงทุนยุทธศาสตร์การเปิดการค้าเสรีบริการและการลงทุน • พัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศให้พร้อมต่อการแข่งขัน • มีมาตรการคุ้มครอง ไม่ให้มีเงื่อนไขที่เสียเปรียบ • เลือกเปิดเสรีบริการอย่างค่อยเป็นค่อยไป (เมื่อมีความพร้อม) การโรงแรม ภัตตาคาร และการท่องเที่ยว

  43. การเปิดเสรีสาขาอื่น เกษตร อาหาร ป่าไม้ ทรัพย์สินทางปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคม ICT พลังงาน) เหมืองแร่ e-commerce การเงินการธนาคาร และ SMEs

  44. อุปสรรคของ AEC 1. ระดับการพัฒนาต่างกันมาก 2.ขาดความจริงจังในระดับต่างๆ 3.ขาดการบูรณาการภายในประเทศต่างๆ

  45. สินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียนสินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียน

  46. การปรับตัวของเอกชน (เชิงรุก) • เสาะหาวัตถุดิบจากอาเซียน • ศึกษารสนิยมตลาดอาเซียน • มองการย้ายฐานการผลิตไปในอาเซียน (เช่น ประเทศที่มีกฎหมายภายในที่เอื้อประโยชน์มากกว่า)

More Related