1 / 61

แรงงานกับ 3 เสาหลักแห่งประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community )

แรงงานกับ 3 เสาหลักแห่งประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community ). เนื้อหา. ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community: AC ) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน ความท้าทาย ข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ. One Vision One Identity One Community.

oleg
Download Presentation

แรงงานกับ 3 เสาหลักแห่งประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงงานกับ 3 เสาหลักแห่งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

  2. เนื้อหา • ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) • สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน • ความท้าทาย • ข้อมูลอ้างอิงอื่นๆ

  3. One Vision One Identity One Community ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

  4. ASEAN-6 CLMV

  5. ASEAN + 3

  6. ASEAN + 6

  7. ASEAN + 8 สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย

  8. ASEAN CHARTER ประกอบด้วย13 บท 55 ข้อ BLUEPRINT ASEAN Political and SecurityCommunity (APSC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) Scorecard

  9. โครงสร้างใหม่ของอาเซียน ภายใต้ ASEAN Charter ASEAN Secretariat AC มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) เสาเศรษฐกิจ เสาสังคม-วัฒนธรรม เสาการเมือง ASEAN Coordinating Council รมต.ต่างประเทศอาเซียน ASEAN Political-Security Community : ASC Council ASEAN Economic Community : AEC Council ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC Council • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. ต่างประเทศ • รมต. กลาโหม • รมต. ยุติธรรม • ASEAN Regional Forum • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต.เศรษฐกิจ AEM • รมต. คลังอาเซียน • รมต. เกษตร / พลังงาน / ขนส่ง / ICTท่องเที่ยว / วิทยาศาสตร์ ฯลฯ • ASEAN Sectoral Ministerial Bodies • รัฐมนตรีรายสาขา : • รมต. วัฒนธรรม • รมต. ศึกษา • รมต. สิ่งแวดล้อม • รมต. แรงงาน • รมต. สาธารณสุข ฯลฯ Senior Officials Senior Officials Senior Officials Senior Officials Committee of Permanent Representatives in Jakarta ระดับเอกอัครราชทูตจากประเทศสมาชิกอาเซียน ประจำที่จาร์กาตา

  10. ร่างแผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 (ข้อมูลอ้างอิง ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555)

  11. ร่างแผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 (ข้อมูลอ้างอิง ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555)

  12. ร่างแผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 (ข้อมูลอ้างอิง ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555)

  13. 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) One Vision One Identity One Community

  14. เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 4 ด้าน

  15. Single Market and Production Base

  16. ความร่วมมือด้านแรงงานในพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจ (AEC Blueprint) ปรากฏใน 2 หมวดดังต่อไปนี้ A 2 การเคลื่อนย้ายธุรกิจบริการเสรี (Free flow of services) A 5 การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี (Free flow of skilled labour) อยู่ภายใต้การเจรจาเรื่องการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา (Movement of Natural Persons) และเป็นเรื่องของบุคลากรวิชาชีพที่ต้องมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement:-MRA) ซึ่งเป็นการยอมรับคุณสมบัติในการมีใบอนุญาตทำงานในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องอนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการการบริการของอาเซียนเข้ามาทำธุรกิจ และในปี พ.ศ.2558 สมาชิกอาเซียนสามารถมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ถึงร้อยละ 70

  17. อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้นอาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักบัญชี* สาขานักสำรวจ* สาขาแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ * ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป 21

  18. MRAs ที่ลงนามแล้ว fการเจรจาแต่ละ MRA เพื่อให้มีผลทาง ปฏิบัติล่าช้าและมีความคืบหน้าในระดับที่ไม่เท่ากัน • Engineering Services (Dec, 2005) • Nursing Services (Dec, 2006) • Architectural Services (Nov 2007) • Surveying Qualifications (Nov 2007) • Accountancy services (Feb 2009) • Dental Practitioners (Feb 2009) • Medical Practitioners (Feb 2009)

  19. หน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพของไทยหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพของไทย

  20. ความตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวแห่งอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals : MRA) ปี ? ปี ? ปี 2554-2556

  21. การจัดทำหลักสูตรท่องเที่ยวแห่งอาเซียนสำหรับ 32 ตำแหน่งงานใน 6 สาขาแล้วเสร็จและสามารถนำไปใช้ได้ ในสาขาที่พักและการเดินทาง

  22. สาขาที่พัก (Hotel Services) : 23 ตำแหน่งงานใน 4 แผนก • Front Office 1.1 Front Office Manager 1.2 Front Office Supervisor 1.3 Receptionist 1.4 Telephone Operator 1.5 Bell Boy 3. Food Production 3.1 Executive Chef 3.2 Demi Chef 3.3 Commis Chef 3.4 Chef de Partie 3.5 Commis Pastry 3.6 Baker 3.7 Butcher 2. HouseKeeping 2.1 Executive Housekeeper 2.2 Laundry Manager 2.3 Floor Supervisor 2.4 Laundry Attendant 2.5 Room Attendant 2.6 Public Area Cleaner 4. Food and Beverage Service 4.1 F&B Director 4.2 F&B Outlet Manager 4.3 Head Waiter 4.4 Bartender 4.5 Waiter

  23. 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) One Vision One Identity One Community

  24. การประชุม ระดับรัฐมนตรีแรงงานอาเซียน (ALMM)

  25. การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแรงงานอาเซียนการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแรงงานอาเซียน (SLOM)

  26. กลไกการทำงาน • คณะทำงานเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแรงงาน (SLOM-WG on Progressive Labour Practices to Enhance the Competitiveness of ASEAN) • คณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยการปฏิบัติให้เป็นไปตามปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงานต่างด้าว (ASEAN Declaration on the protection and promotion of the Rights of Migrant Workers: ACMW) • เครือข่ายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Occupational Safety & Health NETworking: OSHNET) • คณะทำงานเจ้าหน้าที่อาวุโส (SLOM-WG on the HIV Prevention and Control in the Work Place • การประชุมทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Conference: HRC)

  27. Cooperating with ASEAN member countries by competing one another to help each other ASEAN Skills Competition World Skills Competition (biennial) 2 winners from ASC  Training  1 person will be selected to participate in WSC as Thailand representative. ASEAN Skills Competition (biennial) 3 winners Training  2 persons will be selected to participate in ASC as Thailand representatives. National Skills Competition (biennial) One competitor per each skill area National Skills Competition Regional Skills Competition (biennial) “Our Skills Our Future”

  28. 4. สถานการณ์แรงงานไทยในปัจจุบัน One Vision One Identity One Community

  29. จำนวนประชากรและผลิตภัณฑ์มวลรวมของอาเซียน 2553 และประมาณการ ปี 2558 ที่มา: IMF World Economic Outlook

  30. Aging Society

  31. โครงสร้างกำลังแรงงาน ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ปี 2554

  32. ร้อยละของผู้ทำงาน จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ ปี 2554 ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ปี 2554

  33. ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย เดือนเมษายน ปี 2555 จำนวนแรงงานต่างด้าว 1,752,100 คน เข้าเมืองถูกกฎหมาย839,913 คน เข้าเมืองผิดกฎหมาย912,187 คน ตลอดชีพ 983 คน ชนกลุ่มน้อย 25,680 คน MOU 738,794 คน มติ ครม. 3 สัญชาติ 886,507 คน Unknown ??? ทั่วไป 73,784 คน Skilled Labour BOI 26,352 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน

  34. จำนวนแรงงานที่ถูกกฎหมายจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 8,059 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน

  35. จำนวนแรงงานที่ถูกกฎหมายจากประเทศกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย 7 สาขาอาชีพ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 390 ตำแหน่ง จำแนกรายอาชีพ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน

  36. 5. ความท้าทาย One Vision One Identity One Community

  37. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม แนวทางการพัฒนาเพื่อสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (1) เตรียม ความพร้อม ธุรกิจไทย (3) เตรียม ความพร้อม สินค้า/บริการไทย พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพ โดยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องประชาคมอาเซียน (กฎระเบียบ ข้อตกลง ภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตลอดจนการยกระดับทักษะฝีมือแรงงาน (ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม) กำหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐานของคุณภาพสินค้าและบริการ ตลอดจนการกำหนดระบบบริหารจัดการร่วมด้านการพัฒนาทักษะและด้านคุณสมบัติของแรงงานนำเข้า เพื่อให้ได้แรงงานที่มีคุณภาพ และตรงกับความต้องการสำหรับทุกประเทศ (2) เตรียม ความพร้อม แรงงานไทย

  38. การแก้ไขกฎหมาย พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 เนื่องจากขณะนี้ กฎกระทรวงตามมาตรา 7แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 อยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จึงจำเป็นต้องใช้พระราชกฤษฎีกากำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ พ.ศ. 2522 และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ออกตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2521 ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติเรื่องอาชีพ/วิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ ซึ่งรวมถึงงานวิชาชีพและวิชาการเฉพาะด้าน ได้แก่ งานวิศวกรรม งานสถาปัตยกรรม งานควบคุม /ตรวจสอบ หรือให้บริการทางบัญชี เป็นต้น

  39. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ชุมชน • ระบบการศึกษา • ภาษา (ภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียนอื่นๆ) • ทักษะความเชี่ยวชาญในการทำงาน • ทัศนคติในการทำงาน • วัฒนธรรมท้องถิ่น • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและ การเมือง การพัฒนาที่ยั่งยืน

  40. ระบบการศึกษา

  41. ภาษา

  42. ทักษะความเชี่ยวชาญในการทำงานทักษะความเชี่ยวชาญในการทำงาน Skill Standard “SkillStandard is stipulation used to benchmark skills, knowledge, and attitudeof people working in various occupations”

  43. การเชื่อมระบบการศึกษา (โลกการศึกษา) กับตลาดแรงงาน (โลกแรงงาน) ด้วยระบบมาตรฐานคุณวุฒิ (วิชาชีพ) และระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualification Framework) การศึกษา การทำงาน อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงานใน 22 อาชีพ การศึกษา Core Competency มาตรฐานคุณวุฒิ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สกอ. TQF ปริญญาเอก ระดับ 9 ระดับ 3 ป.บัณฑิตขั้นสูง ระดับ 8 ปริญญาโท ระดับ 7 ป.บัณฑิต ระดับ 6 ระดับ 2 สามารถเทียบโอนประสบการณ์และระดับการศึกษา ปริญญาตรี ระดับ 5 สอศ. VQI สถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ ปวส. ระดับ 4 ปวช. ระดับ 3 ระดับ 1 มัธยมปลาย ระดับ 2 มัธยมต้น ระดับ 1 พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (แก้ไขเพิ่มเติม 2553) พรบ. การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 พรฏ. จัดตั้งสถาบันคุณวุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 พรบ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545

  44. พ.ร.บ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545

More Related