1 / 46

บทที่ 5 การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM

บทที่ 5 การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM. บทนำ ใน การดำเนิน/บริหารโครงการให้มีประสิทธิภาพนั้นเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะสิ่งที่จำเป็น คือ การดำเนินการจัดการโครงการที่ต้องดำเนินการก่อนให้เสร็จสิ้น แล้วจึงค่อยดำเนินการต่อ ซึ่งบางครั้งต้องทำตามลำดับก่อนหลัง แต่บางโครงการสามารถดำเนินพร้อมกันได้

rane
Download Presentation

บทที่ 5 การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5การบริหารโครงการด้วยPERT & CPM

  2. บทนำ ในการดำเนิน/บริหารโครงการให้มีประสิทธิภาพนั้นเป็นเรื่องสำคัญ โดยเฉพาะสิ่งที่จำเป็น คือ การดำเนินการจัดการโครงการที่ต้องดำเนินการก่อนให้เสร็จสิ้น แล้วจึงค่อยดำเนินการต่อ ซึ่งบางครั้งต้องทำตามลำดับก่อนหลัง แต่บางโครงการสามารถดำเนินพร้อมกันได้ ดังนั้น การวิเคราะห์ที่นำมาใช้นั้น คือการบริหารโครงการด้วย PERT & CPM

  3. ความหมาย การบริหารโครงการจึงเป็นการวางแผนการปฎิบัติงานย่อยต่างๆ ว่าควรปฎิบัติงานใดก่อนหลังเพื่อทำให้ทั้งโครงการสามารถเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด

  4. เทคนิคที่ใช้ในการบริหารโครงการเทคนิคที่ใช้ในการบริหารโครงการ เทคนิคที่นิยมใช้ได้แก่ *เทคนิคGantt Chart (เหมาะสำหรับโครงการเล็ก) *PERT (Program Evaluation Research) *CPM (Critical Path) (เหมาะสำหรับโครงการ ใหญ่)

  5. เทคนิค Gantt Chart เป็นเทคนิคที่วางแผนเกี่ยวกับเวลาในการปฏิบัติงานย่อยต่างๆ โดยมีระยะเวลาในการเริ่มต้น และสิ้นสุดโครงการ โดยมีการเขียนลำดับการทำงาน และมีการแสดงงานย่อย ๆ ในแต่ละขั้นตอนอย่างชัดเจน

  6. ตัวอย่าง 5.1 โครงการสร้างบ้านหลังหนึ่ง ประกอบด้วยงายย่อย 7 งาน รายละเอียด ดังนี้

  7. รูป 5.1 Gantt Chart แสดงลำดับและระยะเวลาดำเนินการของงานย่อยในโครงการสร้างบ้าน

  8. ข้อดีของ Gantt Chart 1. สามารถระบุระยะเวลาที่โรงการจะเสร็จได้อย่างชัดเจน 2. สามารถระบุได้ว่ามีงานใดบ้างที่สามารถดำเนินงานไป พร้อม ๆ กันได้ 3. สามารถบอกระยะเวลาที่สามารถเลื่อนการปฏิบัติงาน ได้ ทำให้สามารถระบุเวลาที่เหลือได้ โดยเลื่อนเวลาออกไป ในบางงาน ข้อเสียของGantt Chart สามารถใช้ได้ดีในกรณีที่เป็นโครงการขนาดเล็ก หรือมีขนาดใหญ่ไม่มาก แต่ถ้าเป็นโครงการที่เป็นขนาดใหญ่ ๆ มีงานย่อยจำนวนมาก จะทำให้ดูและวิเคราะห์ยุ่งยากมากกว่า ซึ่งอาจไม่เหมาะสม

  9. วัตถุประสงค์การใช้PERT & CPM 1. เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรในโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. ลดระยะเวลาในการดำเนินงาน สามารถลด/เพิ่ม/เร่งระยะในการดำเนินงานใน แต่ละขั้นตอนได้ ** โดยการคำนวณหา ทางวิกฤติ/Critical activity) และเส้นทางวิกฤติ (Critical path)มาใช้ในการควบคุมโครงการ และการบริหารทรัพยากร

  10. ขั้นตอนของเทคนิค PERT & CPM ขั้นที่ 1 ศึกษารายระเอียดของโครงการประกอบด้วยงานย่อยอะไรบ้าง เรียงลำดับงานย่อยต่างๆ ขั้นที่ 2 จากขั้นที่ 1 นำความสัมพันธ์ของงายย่อยต่างๆ ในโครงการทั้งหมดมาเขียนข่ายงาน (Network) เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของงานย่อยต่างๆ ตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุดโครงการ ขั้นที่ 3 คำนวณหาเส้นทางวิกฤติ (Critical path) โดยพิจารณาจากเส้นทางในข่ายงาน ขึ้นที่ 4 ใช้ข่ายงานที่เขียนมาเพื่อช่วยในการวางแผน จัดตารางการทำงาน

  11. สัญลักษณ์และความหมายของ การสร้างข่ายงาน ข่ายงาน (Network) จะแสดงถึงความสัมพันธ์ของงาน ลำดับของงาน ระยะเวลาที่ใช้ของ แต่ละงายย่อย งานย่อย/กิจกรรม (Task/Activity) หมายถึง ส่วนหนึ่งของโครงการที่จะต้องใช้ทรัพยากร โดยจะใช้สัญลักษณ์ แทน จุดเริ่มต้นจะแสดง การเริ่มต้นทำงาน จุดสิ้นสุดจการปฎิบัติงานหรือทำงานเสร็จ รูปที่ 5.2

  12. เหตุการณ์ (Event)หมายถึง จุดเริ่มต้นสิ้นสุดของการปฏิบัติงาน โดยใช้สัญลักษณ์ ที่ประกอบด้วยตัวเลขที่จะช่วยในการแบ่งแยกจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุดของเหตุการณ ตัวอย่าง งานหรือกิจกรรมเทียม (Dummy activity)หมายถึง งานที่ไม่ได้มีการปฏิบัติจริงจึงไม่ต้องการเวลาหรือทรัพยากรใดๆ สำหรับการดำเนินการ ซึ่งจะใช้สัญลักษณ์ A (5 วัน) 2 1 รูปที่ 5.3

  13. หลักเกณฑ์ของการสร้างข่ายงานหลักเกณฑ์ของการสร้างข่ายงาน 1. ข่ายงานจะมีจุดเริ่มต้น/สิ้นสุดเพียงโครงการเดียว 2.งานย่อยของแต่ละงานแทนด้วยลูกศรเพียงอันเดียวเท่านั้น C 2 5 A จุดเริ่มต้นโครงการ จุดสิ้นสุดโครงการ 1 6 B E 4 3 D รูปที่ 5.4

  14. 3. งานตั้งแต่ 2 งานขึ้นไปที่เริ่มต้นที่เวลาเดียวกัน จะสิ้นสุดที่จุดเวลาเดียวกันไม่ได้ A 2 A 1 2 1 2 B B 3 ตัวอย่างข่ายงานที่ผิด ตัวอย่างข่ายงานที่ถูก รูปที่ 5.5

  15. 3 จากตัวอย่าง 5.2เขียนข่ายงานได้ ดังนี้ B(2) C(1) A(1) D(5) E(1) F(1) 2 1 4 5 6 7 รูปที่ 5.6 แสดงข่ายงานของโครงการสร้างบ้าน ซึ่งมีส่วนงานย่อย 7 งาน

  16. หัวข้อการวิเคราะห์ข่ายงานหัวข้อการวิเคราะห์ข่ายงาน 1. โครงการมีกิจกรรมใดบ้าง 2. ลำดับความต่อเนื่องของกิจกรรม 3. กำหนดเวลาหรือคำนวณเวลาเฉลี่ยการทำงานของกิจกรรมต่าง ๆ 4. กิจกรรมใดเป็นกิจกรรมวิกฤต (Critical activity) 5. กิจกรรมใดไม่เป็นกิจกรรมวิกฤต 6. โครงการที่ใช้ CPMคือโครงการที่รู้เวลาการทำงานของกิจกรรม 7. โครงการที่ใช้ PERTคือโครงการที่ต้องคำนวณเวลาเฉลี่ยของกิจกรรม

  17. ตัวอย่าง 5.3จงเขียนข่ายงานของโครงการต่อไปนี้

  18. M(4) 4 5 2 A(3) C(2) D(5) N(3) 1 B(6) G(9) H(3) 7 6 3 รูปที่ 5-7 แสดงข่ายงานของโครงการซึ่งประกอบด้วยงานย่อย 8 งาน

  19. การวิเคราะห์ข่ายงาน หลังจากที่เราสร้างข่ายงานแล้วจำเป็นต้องมีการวิเคราะห์ข่ายงาน เพื่อศึกษาว่าโครงการดังกล่าวจะใช้เวลารวมทั้งสิ้นเท่าใด โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. งานวิกฤติ (Critical activity) เป็นงานที่สำคัญของโครงการ ซึ่งถ้างานวิกฤติไม่เสร็จตามกำหนดจะส่งผลให้งานอื่นล่าช้าตามไปด้วย 2. งานไม่วิกฤติ (Non Critical activity)เป็นงานที่อาจเริ่ม หรือเสร็จช้ากว่ากำหนดได้ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่องานอื่น ๆ

  20. การหางานวิกฤต สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข่ายงาน *เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด (Earliest Start : ES) *ระยะเวลาเริ่มต้นที่ช้าที่สุด(Latest Start : LS) *ระยะเวลาเสร็จที่เร็วที่สุด(Earliest Finish : EF) *ระยะเวลาเสร็จที่ช้าที่สุด (Latest Finish : LF) CPM (Critical Path Method) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการบริหารโครงการ โดยการนำกิจกรรมต่าง ๆ มาเขียนเครือข่างแสดงความสัมพันธ์และคำนวณหาเวลาเพื่อควรเริ่มต้นเพื่อทำกิจกรรม และเวลาสิ้นสุดของแต่ละกิจกรรม เพื่อทำให้โครงการสำเร็จโดยใช้เวลาสั้นที่สุด

  21. เทคนิค CPM เทคนิค CPMเป็นเทคนิคที่ทราบระยะเวลาในการปฏิบัติงานย่อยแต่ละงานที่มีขั้นตอนการคำนวณ ดังนี้ *การคำนวณหาเวลาเริ่มที่เร็วที่สุด (ES) และเวลาที่เสร็จเร็วที่สุด (EF) *การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นที่ช้าที่สุด (LS) และเวลาที่เสร็จช้าที่สุด (LF) *การคำนวณหาเวลาที่เหลือ (Slack time :S) *การคำนวณหางานวิกฤติ (Critical activity) *คำนวณหาเส้นทางวิกฤติ (Critical path)

  22. การคำนวณหาเวลาเริ่มที่เร็วที่สุด (ES) และเวลาที่เสร็จเร็วที่สุด (EF) การหาค่า ESและ EFจะเริ่มจากจุดเริ่มต้นโครงการหรือหาค่า ESของงานแรกที่ต้องทำและจะหาค่า ESของงานต่อเนื่องจากซ้ายไปขาวจนครบทุกงาน หรือจนจบโครงการ โดยคำนวณค่า EFจากสูตร EF = ES + t โดยที่ tแทน ระยะเวลาปฏิบัติงานของงานนั้น EF 3 ES 2 A 0 t=3 0 1 รูปที่ 5.8

  23. ES EF ตัวอย่างที่ 5.4และการหาค่า ESและ EFของโครงการในตัวอย่างที่ 5.3 จากรูปพบว่างาน Aเริ่มต้นได้ทันที ดังนั้น เวลาเริ่มต้นจึงเริ่มที่ 0 และมีเวลาในการปฏิบัติเท่ากับ 3 (t=3) และสามารถนำมาใส่ตารางเริ่มต้นได้ ดังนี้ A 0 3 1 2 t=3 ES EF รูปที่ 5.9 LS LF

  24. ES EF ตัวอย่างที่ 5.4และการหาค่า ESและ EFของโครงการในตัวอย่างที่ 5.3 B 0 6 1 3 t=6 จากรูป พบว่างาน B เริ่มต้นได้ทันที่ ดังนั้น เวลาเริ่มต้นจึงเริ่มที่ 0 และมีเวลาในการปฏิบัติเท่ากับ 6 (t=6) และสามารถนำมาใส่ตารางเริ่มต้นได้ ดังนี้ ES EF LS LF

  25. EF ES EF ES การหาค่า ESและ EFกรณีที่มีงานก่อนหน้าเพียงงานเดียว จากรูป พบว่า N จะเริ่มต้นได้เมื่องาน Mเสร็จสิ้นแล้วเท่านั้น ดังนั้น ค่า ESของงานNจะต้องเริ่มต้นเมื่องาน Mเสร็จสิ้นหรือ EFของงาน Mมีค่าเท่ากับ ESของงาน Nนั่นเองและค่า EFของงาน Nก็บวกระยะเวลาของงาน Nกับระยะเริ่มต้น 4 0 11 4 รูปที่ 5.10 1 3 2 M=(4) N=(7)

  26. 3 B(1) การหาค่า ESและ EFกรณีที่มีงานก่อนหน้ามีหลายงาน ถ้ากำหนดค่า EFของงานB,Cและ Dดังนี้ EFB = 6 EFC= 5 EFD= 7 ดังนั้น งาน G จะเริ่มได้ ก็ต่อเมื่องาน B C D เสร็จสิ้นแล้ว หมายความว่างานที่เสร็จสุดท้ายคือ งานDดังนั้น ESG = 7 นั่นเอง ทำให้ EFG = 11 C(3) G(4) 4 6 7 D(2) รูปที่ 5.11 5

  27. ตัวอย่างที่ 5.5 จากตัวอย่างที่ 5.3 จงหาค่า ES และ EF ทของทุกงาน รูปที่ 5.12

  28. การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นที่ช้าที่สุด (Latest Start Time ; LST)และเวลาเสร็จที่ช้าที่สุด (Latest Finish Time ; LFT) การหาค่า LS LF นั้น จะเริ่มจากจุดสิ้นสุดโครงการย้อนไปทางซ้ายมือ หรือเป็นการคำนวณแบบย้อนกลับ จนถึงจุดเริ่มต้นโครงการ โดยที่เราจะต้องหาค่า LFก่อน จึงจะหาค่า LSได้ ยกตัวอย่าง สามารถคำนวณได้ ดังนี้ LSH = LFH - tH ES EF LS LF รูปที่ 5.13

  29. การค่า LSและ LFกรณีที่มีงานก่อนหน้าเพียงงานเดียว การหาค่า LSและ LFของงาน Gซึ่งมีงานตามหลัง Gเพียงงานเดียว คือ งาน H H G 6 7 3 รูปที่ 5.14 LF LS รูปที่ 5.15

  30. 5 C การหาค่า LSและ LFกรณีที่งานก่อนหน้ามากกว่า 1 งาน ถ้ามีงานตามหลัง B จำนวน 2 งาน คือ งาน C D โดยจะต้องทำงาน B ให้เสร็จก่อน ดังนั้น การหาค่า LF ของงาน B จะต้องพิจารณาจากค่า LS ของงาน C D ก่อนว่างานใดเริ่มก่อน หรือ LFB = min { LSC, LSD} B 3 4 D รูปที่ 5.16 6

  31. ตัวอย่างที่ 5.6 จากตัวอย่างที่ 5.3 จงหาค่า LS และ LF ทของทุกงาน รูปที่ 5.17

  32. การหาเวลาเหลือ (Slack time ; S) คือ เวลาที่เราสามารถขยาย หรือเลื่อนการปฏิบัติงานนั้นออกไป หรือสามารถยืดหยุ่นได้ สามารถคำนวณได้ ดังนี้ S = LS – ES หรือ S = LF - EF

  33. งานวิกฤติ (Critical activity) เป็นงานที่มีเวลาเป็นศูนย์ หรืองานที่มีค่า LS = ES ทำให้ไม่สามารถยืดหยุ่นในการทำงานได้ นอกจากนี้งานวิกฤติยังอาจเกิดจาก LF = EF อีกด้วย จึงไม่สามารถเลื่อนเวลาได้ ดังนั้น งานวิกฤติไม่สามารถเลื่อนเวลาได้ ถ้าหากเลื่อนจะทำให้โครงการเสร็จล่าช้าได้

  34. ตารางที่ 5.2 แสดงค่าเวลาเหลือ และงานวิกฤต ตัวอย่างที่ 5.7 จากงานในตัวอย่างที่ 5.6 นำมาเขียนสรุปค่าเวลาเหลือ และงานวิกฤติได้ดังนี้

  35. เส้นทางวิกฤติ (Critical path) คือ งานวิกฤติที่ต่อเนื่องกันตั้งแต่จุดเริ่มต้นโครงการจนสิ้นสุดโครงการ ตัวอย่างที่ 5.8 จากตัวอย่าง 5.7 จงหาเส้นทางวิกฤต วิธีทำ เส้นทางวิกฤต คือ B-D-M-N-H ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 21 สัปดาห์ วิธีการคำนวณหาเส้นทางวิกฤติ 1. หาค่าเวลาเหลือแล้วเลือกงานที่มีเวลาเหลือเป็นศูนย์ดังได้แสดงในตารางที่ 5.2 2. หาเส้นทางที่ยาว/ระยะเวลาสูง ที่สุดในการดำเนินโครงการ เนื่องจากเส้นทางวิกฤตเป็นเส้นทางที่ยาวที่สุดหรือใช้ระยะเวลาสูงสุด โดยจะแสดงในตัวอย่างที่ 5.9

  36. ตัวอย่างที่ 5.9 จากตัวอย่างที่ 5.3 และ 5.12 สามารถหาเส้นทางที่ยาวที่สุด ดังนี้ * เส้นทางวิกฤต

  37. เทคนิค PERT(Program Evaluation Research Task) เป็นเทคนิคที่ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถทราบระยะเวลาแน่นอนในการปฏิบัติงานย่อยแต่ละงาน โดยผู้บริหารโครงการต้องประมาณระยะเวลาของงานย่อยมา 3 คำ คือ a = ระยะเวลาที่คาดว่าจะทำงานเสร็จได้เร็วที่สุด (Optimistic time) ในกรณีที่ไม่มีอุปสรรคในการปฏิบัติงาน (มองโลกในแง่บวก) b = ระยะเวลาที่คาดว่าจะทำงานเสร็จได้ช้าที่สุด (Pessimistic time) ในกรณีที่มีอุปสรรคมากที่สุด(มองโลกในเง่ลบ) M = ระยะเวลาที่สามารถทำงานเสร็จได้โดยส่วนมาก (Most likely time) ในกรณีทุกอย่างดำเนินไปอย่างปกติ

  38. ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานมีการแจกแจงแบบเบต้า (Beta distribution) โดยมีระยะเวลาเฉลี่ย (Expected activity time ; t )และค่าความแปรปรวน (Variance) ของแต่ละงานดังนี้ ระยะเวลาเฉลี่ย = t = (a+4m+b)/6 ระยะเวลาแปรปรวน = v = สำหรับเทคนิคของ PERTจะเหมือนกับเทคนิค CPMต่างกันตรงที่ CPM จะใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานจริง ขณะที่ PERTใช้เวลาเฉลี่ย และความน่าจะเป็นมาเกี่ยวข้อง

  39. ตัวอย่าง 5.10โครงการศึกษาเปรียบเทียบลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ ก โครงการใช้เวลากี่วัน ข จงหาเส้นทางวิกฤติ ค มีงานใดบ้างที่เลื่อนเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด โดยไม่ทำให้โครงการเสร็จช้ากว่ากำหนด ง จงหาความน่าจะเป็นที่โครงการนี้เสร็จภายใน 28 วัน ตารางที่ 5.3

  40. 2 ขั้นที่ 1 เขียนข่ายงาน D A C 4 1 M G B 3 5 K รูปที่ 5.18 แสดงข่ายงานของโครงการศึกษาเพื่อลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์

  41. ขั้นที่ 2 หาระยะเวลาเฉลี่ย (t) และค่าแปรปรวน (V) ของงานย่อยแต่ละงาน ระยะเวลาเฉลี่ยของงาน A = = = = 9 วัน ระยะเวลาแปรปรวนของงาน A = = = = 4

  42. 2 ขั้นที่3หาค่าเวลา (ES,LS) และ (LS,LF) ของแต่ละงานย่อยใส่ในข่ายงาน D A C 4 1 M G B 3 5 K รูปที่ 5.19 แสดงค่า (ES,LS) และ (LS,LF) ของโครงการศึกษาเพื่อลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์

  43. ตารางที่ 5.5 แสดงค่า ES,EF ,LS,LF และ Slackของงานย่อย ขั้นที่ 4 หางานวิกฤตและเส้นทางวิกฤต

  44. โครงการนี้ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้นโดยเฉลี่ย 24 วัน • เส้นทางวิกฤต คือ A-C-G-M • งานที่สามารถเลื่อนได้ คือ B , D และ K • การหาโอกาสที่โครงการนี้จะเสร็จภายใน 28 วัน ให้ T = ระยะเวลาของเส้นทางวิกฤต (วัน) T , โดยที่ = ระยะเวลาเฉลี่ยของเส้นทางวิกฤต = ค่าแปรปรวนของเส้นทางวิกฤต = +++ = 9+5+6+4 = 24 วัน = +++ = 4+++ = 5 วัน

  45. ต้องการหาพื้นที่ที่แรเงาคือ P (โครงการเสร็จภายใน 28 วัน) = P (T28) ปรับ T เป็น Z โดยที่ Z = P (โครงการเสร็จภายใน 28 วัน) = P ( Z ) = P (Z 1.79) 28 24 T 0 1.79 Z จากตารางปกติมาตรฐาน P (Z 1.79)= 0.963 นั้นคือ โอกาสที่โครงการจะเสร็จภายใน 28 วัน เป็น 0.963 หรือ 96.63%

More Related