1 / 8

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมกรรมการเกษตร  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมเซรามิคส์. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมกรรมการเกษตร  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมเซรามิคส์ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดเชียงใหม่ สถานศึกษา สังกัด สพฐ 997 แห่ง (สปช. 954 แห่ง และ สศ. 43 แห่ง) สังกัด เอกชน 288 แห่ง สังกัด กศน. 24 แห่ง สังกัด สกอ. 8 แห่ง สาธิต 1 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1. วท.เชียงใหม่ 2. วท. สันกำแพง 3. วอศ.เชียงใหม่ 4. วษท.เชียงใหม่ 5. วช.เชียงใหม่ 6. วก.ฝาง 7. วก.จอมทอง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือเขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า ซึ่งมี • พรมแดนยาวประมาณ 227 กม. • มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 1 ของภาคเหนือ และ • เป็นอันดับ 2 ของประเทศ • เป็นเมืองหลักของภาคเหนือ เป็นศูนย์กลางการ • พาณิชย์ อุตสาหกรรมและการคมนาคม • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 64,429 บาท ต่อปี (อันดับ 3 • ของภาค อันดับ 34 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากสาขาการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 16.56% รองลงมา • ภาคเกษตร 13.36 % และสาขาการผลิตอุตสาหกรรม • 10.43 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • หัตถกรรมเครื่องไม้ ร่มบ่อสร้าง พืชผัก ผลไม้ • อาหารแปรรูปต่าง ๆ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,650,009 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 111,286 คนหรือ 10.72 % • จำนวนผู้ว่างงาน 14,941คน เป็นชาย 5,854 คน เป็นหญิง 9,088 คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 256,779 คนหรือ 27.53%ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 154,333 คน หรือ 16.55 % และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 147,431 คน หรือ 15.81% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ 2) ช่างซ่อมรถจักรยานยนต์ 3) ช่างเชื่อม • 4) เลี้ยงปลา 5) เลี้ยงไก่ 6) เพาะเห็ด 7) ธุรกิจการขายตรง 8) ตัดผมชาย • 9) ทำอาหาร 10) ประดิษฐ์ดอกไม้ (ที่มา อศจ.เชียงใหม่) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 397,828 คน หรือ 42.65 % ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 252,886 คน หรือ 27.11% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 168,850 คน หรือ 18.1 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 90,322 คน หรือ 9.68% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 571,676 คน หรือ 61.29 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 37,422 คน หรือ 4.01% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมการเกษตร มีสถานประกอบการ • 979 แห่ง มีการจ้างงาน 38,034 คนรองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มมีสถานประกอบการ 224 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 7,396 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  3. จังหวัดลำพูน สถานศึกษา สังกัด สพฐ 308 แห่ง (สปช. 290 แห่ง และ สศ. 18 แห่ง) สังกัด เอกชน 41 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.ลำพูน 2. วษท. ลำพูน 3. วก.ป่าซาง 4. วก.บ้านโฮ่ง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นจังหวัดที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานที่สุด • ในภาคเหนือ เป็นแหล่งรวมประเพณี วัฒนธรรม • ล้านนา โบราณสถานอันเก่าแก่ • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ • ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจหลักของ • ภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม่ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 138,164 บาท ต่อปี (อันดับ1 • ของภาค อันดับ12 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด สาขาการผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 66.21% • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • ลำไย กระเทียม • ประชากร • จำนวนประชากร 404,727 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 28,381 คน หรือ 10.29 % • จำนวนผู้ว่างงาน 1,727คน เป็นชาย 770 คน เป็นหญิง 957 คน อัตราการว่างงาน 0.5% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมและประมงสูงที่สุด จำนวน 60,645 คนหรือ 26.4%ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ • 40,095 คน หรือ 17.45%และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 32,575 คน หรือ 14.18% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทอผ้า (ผ้าฝ้ายทอมือ) 2) การทำปุ๋ยหมัก 3) การทำน้ำพริก 4) การแปรรูปลำไย • 5) การเลี้ยงโคขุน 6) การทำผ้าบาติก 7) การเย็บผ้านวม 8) งานตีเหล็ก • 9) ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง 10) การทำอิฐบล็อก (ที่มา อศจ.ลำพูน) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 101,760 คน หรือ 44.29 % ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 72,097 คนหรือ 31.38 % และช่วยธุรกิจครัวเรือน 34,092 คน หรือ 14.84 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 13,798 คน หรือ 6.01% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 149,883 คน หรือ 65.24% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 12,402 คน หรือ 5.4% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 23 แห่ง มีการจ้างงาน 5,524 คน รองลงมาอุตสาหกรรมการเกษตร มีสถานประกอบการ 319 แห่ง มีการจ้างงาน 3,328 คน และอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ มีสถานประกอบการ 183 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 3,220 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  4. จังหวัดลำปาง สถานศึกษา สังกัด สพฐ 485 แห่ง (สปช. 452 แห่ง และ สศ.33 แห่ง) สังกัด เอกชน 73 แห่ง สังกัด กศน. 14 แห่ง สังกัด สกอ. 3 แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1. วท.ลำปาง 2. วอศ. ลำปาง 3. วช.ลำปาง 4. วก.เกาะคา 5.วก.เถิน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือมีเขตติดต่อกับจังหวัดเศรษฐกิจสำคัญ • ของภาคและประเทศไทย คือ จังหวัดเชียงใหม่ • มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 10 ของประเทศไทย • เป็นจังหวัดที่มีอายุเก่าแก่ไม่น้อยกว่า 1,300 ปี • มีโบราณสถานที่สำคัญเป็นจำนวนมาก • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 48,983 บาท ต่อปี (อันดับ 6 • ของภาค อันดับ 46 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากสาขาการ • ขายส่ง การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 19.3% • รองลงมาการทำเหมืองแร่และเหมืองหิน 16.51% • และสาขาการผลิตอุตสาหกรรม 11.72% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • เซรามิคส์ ข้าวแต๋น โป่งข่าม • ประชากร • จำนวนประชากร 776,726 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 54,693 คน หรือ 10.27% • จำนวนผู้ว่างงาน 3,465คน เป็นชาย 3,194 คน เป็นหญิง 271คน อัตราการว่างงาน 0.4% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน190,243 คนหรือ 41.0%ลำดับรองลงมาคือผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง • 61,567 คน หรือ 13.27% และพนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาด 54,082 คน • หรือ 11.66% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) เกษตรกรรม (ทำนา ทำสวน) 2) ทำข้าวแต๋นน้ำส้มเกลี้ยง 3) ทำข้าวแต๋น “อำพันธ์” • 4) การทอผ้า 5) การทำกระดาษจากใยกล้วย 6) การเจียระไนแก้วโป่งข่าม • 7) การผลิตเบเกอรี่ 8) การแปรรูปกล้วย 9) การทำแยมสัปปะรด • 10) การทำปุ๋ยหมัก (ที่มา อศจ.ลำปาง) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 170,845 คน หรือ 36.82% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 156,217 คน หรือ 33.67 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 26,259 คน หรือ 5.66% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น – • ต่ำกว่าประถมศึกษา 331,915 คน หรือ 71.53 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 17,093 คน หรือ 3.68% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเซรามิคส์ มีสถานประกอบการ • 269 แห่ง มีการจ้างงาน 11,012 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และประดิษฐ์กรรมจากไม้ • มีสถานประกอบการ 241 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 8,168 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดแม่ฮ่องสอน สถานศึกษา สังกัด สพฐ 347 แห่ง (สปช. 334 แห่ง และ สศ.13 แห่ง) สังกัด เอกชน 6 แห่ง สังกัด กศน. 7 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 2 แห่ง 1. วก.นวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน 2. วก. แม่สะเรียง • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับ • ประเทศสหภาพพม่า • ทิศตะวันออกมีเขตติดจังหวัดเศรษฐกิจหลักของ • ภาค คือจังหวัดเชียงใหม่ • มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 3 ของภาค อันดับ 8 ของ • ประเทศไทย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน 2 แห่ง ด่านบ้านห้วยผึ้ง • และด่านน้ำเพียงดิน • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 34,571 บาท ต่อปี (อันดับ 17 • ของภาค อันดับ 62 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 33.03% ลำดับรองลงมาการขายส่ง • ขายปลีก 13.88 % • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม เช่น ปลูกถั่วเหลือง ถั่วลิสง ข้าวไร่ • และข้าวโพด • ประชากร • จำนวนประชากร 253,609 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 จำนวนสูงที่สุด มีจำนวน 19,436 คน หรือ14.89 % • จำนวนผู้ว่างงาน 99 คน เป็นชาย 88คน เป็นหญิง 11คน อัตราการว่างงาน 0.04% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 116,794 คนหรือ 81.67% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การแปรรูปกระเทียมเจียว 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง 3) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ • 4) การประดิษฐ์ดอกเอื้องแซะ 5) ผลิตภัณฑ์จากต้นคล้า 6) พัฒนาข้าวปองต่อ • 7) พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอขนแกะ 8) น้ำพริกลาบ (แม่ฮ่องสอน) สำเร็จรูป • 9) พัฒนาการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ 10) การผลิตลูกปะคบสมุนไพร • (ที่มาอศจ.แม่ฮ่องสอน) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นช่วยธุรกิจครัวเรือนสูงที่สุด 70,061 คน หรือ 48.99 % ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 54,102 คน หรือ 37.83% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 46,229 คน หรือ 32.3% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 82,708 คน หรือ 57.84 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 1,348 คน หรือ 0.94% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 6 แห่ง มีการจ้างงาน 264 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  6. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน

  7. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่างกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง

  8. ข้อมูลจังหวัด 75 จังหวัด ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

More Related