1 / 55

การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (Community Based Research-CBR) ระดับบัณฑิตศึกษา บัญชร แก้วส่อง

การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (Community Based Research-CBR) ระดับบัณฑิตศึกษา บัญชร แก้วส่อง. ภารกิจสถาบันอุดมศึกษา. บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมา. ความรู้ นำเข้า. ผู้สอน. ? ความรู้ที่ได้ จากการวิจัย. วิจัย. บริการสังคม. ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม. ชุมชนท้องถิ่น.

Download Presentation

การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (Community Based Research-CBR) ระดับบัณฑิตศึกษา บัญชร แก้วส่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (Community Based Research-CBR)ระดับบัณฑิตศึกษาบัญชร แก้วส่อง

  2. ภารกิจสถาบันอุดมศึกษาภารกิจสถาบันอุดมศึกษา

  3. บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมาบทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะที่ผ่านมา ความรู้ นำเข้า ผู้สอน ?ความรู้ที่ได้ จากการวิจัย วิจัย บริการสังคม ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ชุมชนท้องถิ่น

  4. คุณลักษณะงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: การบูรณาการ 4 ภารกิจใน 1 งานวิจัย ภารกิจการผลิตบัณฑิต ภารกิจบริการวิชาการแก่สังคม ภารกิจทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภารกิจการวิจัย

  5. ชุมชนท้องถิ่นไทยรู้จักตนเอง ปรับตัว ดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณค่า พลังและความสุขภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง การมองเชื่อมชุมชนท้องถิ่น สังคมไทย สังคมอาเซียน และสังคมโลก

  6. สถานการณ์วิกฤติของโลกสถานการณ์วิกฤติของโลก วิกฤติของการพัฒนากระแสหลัก

  7. สองระบบความคิด Gross Domestic Product-GDP • ทุนที่เป็นตัวเงิน • การแข่งขันอย่างเสรี • การค้าอย่างเสรี • ทำให้เกิดการบริโภค • ลัทธิวัตถุนิยม • ความไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาแบบไม่สมดุล Gross Domestic Happiness-GDH • ทุนมนุษย์และสังคม • การอยู่ร่วมกัน • การแลกเปลี่ยนแบบเลือกเฟ้น • ความพอเพียง การออม • การพัฒนาทางวัฒนธรรม จิตวิญาณ • การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาแบบมีสมดุล

  8. วิถีโลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก มุ่งการใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสำคัญ การผลิตแบบMass สู่การทำกำไรสูงสุด ระบบความสัมพันธ์แห่งการแข่งขัน เป้าหมายคือความเป็นหนึ่งเหนือบุคคลอื่น วิถีท้องถิ่น (Localization) มาตรฐานที่หลากหลายของท้องถิ่น มุ่งการอยู่ร่วมกับทรัพยากรอย่างยั่งยืน ความเชื่อและเทคโนโลยีพื้นบ้านเป็นเครื่องมือสำคัญ การผลิตแบบพอเพียง สู่การเกื้อกูลแบ่งปัน ระบบความสัมพันธ์แห่งการร่วมมือ เป้าหมายคือการอยู่ร่วมกันของสังคม สองขั้วของวิถี

  9. เรามีความรู้เกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นมากน้อยเพียงใดเรามีความรู้เกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่นมากน้อยเพียงใด คน/ชุมชน/ท้องถิ่น

  10. องค์ประกอบของชุมชนท้องถิ่นองค์ประกอบของชุมชนท้องถิ่น ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ T1……T2……T3……Tn ระบบคุณค่า • ความเชื่อพุทธ/ผี • ลัทธิบริโภคนิยม คน กลุ่มคน และชุมชน • นิเวศน์น้ำ ทาม ทุ่ง โคก ภู • ความหลากหลายทางชีวภาพ • ระบบการผลิต • ภูมิปัญญาการผลิต ระบบสังคม ระบบนิเวศน์ • ความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม • ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจ • ความสัมพันธ์เชิงการเมือง

  11. นิเวศวัฒนธรรมชุมชนอีสานนิเวศวัฒนธรรมชุมชนอีสาน • วิถีชีวิตคนดง/ภู • ของป่า • เลี้ยงสัตว์ • ทำไร่/รับจ้าง • ของป่าแลกข้าว • ขายของป่า/พืชไร่ ซื้อข้าว • เจ้าป่า/เจ้าดง • วิถีชีวิตคนโคก • ทำนาดอน • ทำไร่/รับจ้าง • ของป่า • เลี้ยงสัตว์ • ขายพืชไร่ ซื้อข้าว/ปลา • ปู่ตา/ผีป่า • วิถีชีวิตคนทุ่ง • ทำนา/รับจ้าง • เลี้ยงสัตว์ • ปลูกพืชผัก • ข้าวแลกปลา/ของป่า • ขายข้าว ซื้อข้าว/ปลา • ผีตาแฮก/ปู่ตา • วิถีชีวิตคนทาม • หาปลา/รับจ้าง • ของป่า • นาทาม • เลี้ยงสัตว์ • ปลาแดก/หม้อแลกข้าว • ขายปลา/หม้อซื้อข้าว • วังปลา/เขตอภัยทาน • นิเวศน์ภู • ที่สูงลาดชัน • ป่าดง/ภู • นิเวศน์โคก • ที่ดอน • ป่าโคก • นิเวศน์ทาม • ที่ลุ่มลำน้ำ • ป่าทาม • นิเวศน์ทุ่ง • ที่ราบ • นา

  12. ผู้ไท กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคอีสาน ย้อ ฯลฯ ไทคอนสาร กะเลิง เยอร์ บรูว์ โซ่ หญะกุร

  13. ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นอีสานประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นอีสาน

  14. ทำไมต้องวิจัยเพื่อท้องถิ่น: การปลดปล่อยทางปัญญา • การมีส่วนร่วมของคนที่เกี่ยวข้อง • ค้นหารูปแบบและวิธีการพัฒนา • ใช้และประยุกต์ภูมิปัญญา/เทคโนโลยีท้องถิ่น • เพื่อการพึ่งตนเอง การอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์อย่างยั่งยืน และการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคมอย่างเกื้อกูลและแบ่งปัน

  15. การวิจัยคืออะไรทำไมต้องวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยคืออะไรทำไมต้องวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

  16. “การซอกหา” ความรู้ใหม่ • “สะราวจรีว” (สาวลงลึก) • Re-search ค้นหา ค้นแล้วค้นเล่า • การค้นหาความรู้ใหม่โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการอื่นใดที่เชื่อถือได้ • การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและสังคม

  17. ทบทวนความหมายการวิจัยเพื่อท้องถิ่น คือ อะไร กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ (ปริยัติ) ผ่านกระบวนการปฏิบัติ (ปฏิบัติ) ร่วมกันของชุมชนท้องถิ่นที่ก่อให้เกิดการเปลียนแปลง/การพัฒนา (ปฏิเวธ)

  18. เป้าหมายสำคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป้าหมายสำคัญของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น

  19. ทางเลือกที่หลากหลายของการวิจัยเพื่อท้องถิ่นทางเลือกที่หลากหลายของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศักยภาพของ กลไกภาคและ Node

  20. จะวิจัยอย่างไร

  21. กระบวนการสำคัญ: อริยสัจจ์ 4 ประการ วิจัยระยะที่ 1 ความรู้ใหม่ได้จากการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ระยะที่ 2 ความรู้ใหม่ได้จากการสรุปบทเรียน และวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการ

  22. แนวคิดในการพัฒนาโจทย์วิจัยแนวคิดในการพัฒนาโจทย์วิจัย สอดคล้องกับ ความสนใจ สอดคล้องกับ ปัญหาท้องถิ่น ทีมนักวิชาการ ทีมชุมชน ความพร้อม ของพื้นที่ ทีมนักพัฒนา ความเหมาะสม ของระยะทาง

  23. กระบวนการสร้างโจทย์วิจัยแบบมีส่วนร่วมกระบวนการสร้างโจทย์วิจัยแบบมีส่วนร่วม

  24. จัดทีมวิจัยสร้างความรู้ใหม่จัดทีมวิจัยสร้างความรู้ใหม่

  25. การออกแบบการวิจัยโดยทั่วไปการออกแบบการวิจัยโดยทั่วไป • การออกแบบข้อมูลที่ต้องเก็บ เก็บข้อมูลอะไร • การออกแบบแหล่งข้อมูลที่เก็บ เก็บข้อมูลจากใคร • การออกแบบวิธีการเก็บ เก็บข้อมูลอย่างไร • การออกแบบวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้มาจะวิเคราะห์อย่างไร

  26. โสเหล่ (Focus group) โฮมกัน(Group Interview) เว่าสู่ฟัง(Oral History) ส่อ(Indept-interview) ซอมเบิ่ง(Participant observation) จอบเบิ่ง(Observation) -ใช้แบบสอบถาม -สำรวจ เดินดู ร่วมกันกับผู้รู้ วิธีการเก็บข้อมูล จัดทำแผนที่กายภาพ บันทึก

  27. การสร้างความคุ้นเคย (Rapport-ลึ้ง) • ใช้ความมักคุ้นส่วนตัว • สร้างผ่านคนรู้จักกัน • ใช้ความสังเกตสิ่งที่น่าสนใจ หยิบขึ้นมาเป็นประเด็นสนทนานำ • ให้เวลาเป็นของชาวบ้านให้มากที่สุด • กรณีสมุนไพรดอนจาน หมากมีพลูไปฝากด้วย หรือนั่งเคี้ยวหมากด้วยกัน • กรณีควายทาม ไปนั่งกินข้าวกลางวันด้วยกันตอนเลี้ยงควาย

  28. การทำแผนที่ทางสังคมSocial Mappingเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา

  29. ข้อมูลแผนที่ทางสังคมของชุมชนข้อมูลแผนที่ทางสังคมของชุมชน • ข้อมูลสำคัญของแผนที่กายภาพ • โครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ ถนน ไฟฟ้า ประปา วัด โรงเรียน บ้านผู้นำทางการ • ระบบนิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ • พื้นที่ทำการผลิตที่สำคัญ เช่น พื้นที่นา ไร่ พื้นที่หาปลา เลี้ยงปลา • ข้อมูลสำคัญของแผนที่ทางสังคม • สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชนที่คนเคารพนับถือ • กลุ่มองค์กร และเครือข่ายที่มีศักยภาพ • ปราชญ์/ผู้รู้ของชุมชน/ผู้นำสำคัญ • เครือข่ายการเกาะเกี่ยวของคนในชุมชน • ทิศทางและสัญลักษณ์ • การกำหนดทิศของแผนที่ • การกำหนดสัญลักษณ์ • การกำหนดอัตราส่วนที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง

  30. การเดินสำรวจเพื่อทำแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่วมการเดินสำรวจเพื่อทำแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่วม

  31. แผนที่กายภาพเน้นการตั้งบ้านเรือนแผนที่กายภาพเน้นการตั้งบ้านเรือน

  32. แผนที่กายภาพเน้นสภาพแวดล้อมแผนที่กายภาพเน้นสภาพแวดล้อม

  33. ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่น • ประวัติศาสตร์บอกเล่า • ศึกษาประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์ทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและสาเหตุการเปลี่ยนแปลง • ประวัติศาสตร์วิถีชุมชนท้องถิ่น ไม่ใช่ประวัติผู้นำ • ช่วงการก่อเกิดชุมชน • ช่วงการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ

  34. แนวการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนแนวการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน • ช่วงเวลาการก่อตั้งถิ่นฐาน สาเหตุที่มา กลุ่มที่มา แหล่งที่มา • ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลง/การขยายตัวที่สำคัญของชุมชน • เหตุที่ทำให้เปลี่ยนแปลง ผลของการเปลี่ยนแปลง • สภาพแวดล้อมที่สำคัญในแต่ละช่วงเวลา

  35. การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน-การสัมภาษณ์กลุ่ม: โสเหล่

  36. การสร้างประวัติศาสตร์แบบมีส่วนร่วมผ่านเส้นเวลา (Timeline)

  37. ข้อมูลประวัติศาสตร์ของชุมชนข้อมูลประวัติศาสตร์ของชุมชน • ยุคก่อตั้งถิ่นฐาน –ยุคบ้านป่า/บ้านไร่ (2496-2516) • ระบบนิเวศน์และสภาพกายภาพของพื้นที่ • ครัวเรือนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน แหล่งที่ตั้ง • การทำมาหากิน/อาชีพของคนในยุคแรก-หาของป่า ไร่ข้าวโพด ไร่ถั่ว • ระบบความสัมพันธ์และการปกครองชุมชนยุคแรก • ระบบความคิด ความเชื่อ คุณค่า • ยุคการสร้างเขื่อนและพืชไร่ (2516-2525) • การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์และกายภาพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง • การเปลี่ยนแปลงการทำมาหากิน อาชีพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง -มะขามหวาน ลำไย รับจ้าง • การเปลี่ยนแปลงระบบอื่น ๆ และสาเหตุการเปลี่ยนแปลง • ยุคไม้ผลและรับจ้าง (2526-2535) • พืชไร่ล้มเหลว ปลูกไม้ผล มะขามหวาน ลำไย • การรบจ้างขยายตัว เริ่มปลูกยางปลายยุค • ยุคปัจจุบัน –ยุคยางรุ่งเรือง (2536-ปัจจุบัน) • จำนวนครัวเรือนที่มีในปัจจุบัน • การทำมาหากิน และอาชีพในปัจจุบัน –ปลูกยาง รับจ้าง ทำนา • ระบบความสัมพันธ์และการปกครองในปัจจุบัน • ระบบความคิดความเชื่อที่ยังมีอยู่ในปัจจุบัน ระบบที่หมดไป สาเหตุที่หมดไป หายไป

  38. การทำผังเครือญาติ พ่อพันธุ์+ยายสาย พ่อวัง + แม่ลัดดา นายฝัน (เสียชีวิต) นางมา + นายโส นายน้อย + นางลาวัลย์ นางลาวัลย์ เด็กชายสมาน เด็กหญิงสิดา

  39. การทำแผนที่ศักยภาพขององค์กรชุมชนการทำแผนที่ศักยภาพขององค์กรชุมชน • องค์กรชุมชนที่สำคัญมีอะไรบ้าง • องค์กรที่เป็นทางการ • องค์กรที่ไม่เป็นทางการ • ที่อยู่/ที่ตั้งขององค์กร • ภารกิจและกิจกรรมสำคัญขององค์กร • สมาชิกและเครือข่ายขององค์กร • การเป็นแหล่งเรียนรู้ดูงานขององค์กร

  40. ตัวอย่างกลุ่มและองค์กรในชุมชนตัวอย่างกลุ่มและองค์กรในชุมชน • กลุ่มองค์กรที่เข้มแข็งและมีศักยภาพในชุมชน • กลุ่มผู้อาวุโส • กลุ่มประมงพื้นบ้าน • กลุ่มแม่บ้าน • กลุ่ม อสม. • กลุ่มเครือข่ายอนุรักษ์และฟื้นฟู • กลุ่มปศุสัตว์ • กลุ่มพัฒนาอาชีพ • ฯลฯ

  41. ใครเป็นปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้รู้ที่สำคัญของชุมชนใครเป็นปราชญ์ชาวบ้าน/ผู้รู้ที่สำคัญของชุมชน • ผู้รู้ด้านอาชีพ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การทำการเกษตรอินทรีย์ พรานปลา • ผู้รู้ด้านวัฒนธรรม ประเพณี เช่น ผู้อาวุโสที่ทำพิธีกรรมด้านต่าง ๆ • ผู้รู้เรื่องป่า เช่น พรานป่า เซียนเห็ด • ผู้รู้ด้านการดูแลรักษาผู้ป่วย เช่น หมอยา หมอธรรม หมอเป่า • ผู้อาวุโสที่ชุมชนให้ความเคารพด้านต่าง ๆ เช่น เจ้าอาวาส หัวหน้าตระกูล • ผู้ช่วยคลี่คลายปัญหาให้ชุมชน เช่น กลุ่มตุลาการชุมชน • ฯลฯ

  42. ข้อมูลบริบทและสภาพแวดล้อมของชุมชนข้อมูลบริบทและสภาพแวดล้อมของชุมชน • สภาพกายภาพและระบบนิเวศน์ • แหล่งน้ำ ป่าไม้ แหล่งหาปลา เลี้ยงสัตว์ ความสมบูรณ์ของพื้นที่ • สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ • การถือครองที่ดิน อาชีพและจำนวนครัวเรือนที่ทำอาชีพเหล่านั้น หาปลา เลี้ยงปลา รับจ้าง • รายได้ รายจ่าย หนี้สิน ทรัพย์สิน • สภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม • ระบบเครือญาติ ความสัมพันธ์ วัฒนธรรมประเพณี • ความเชื่อที่สำคัญ ปู่หลุบ • สภาพแวดล้อมทางการเมืองการปกครอง • ระบบการปกครองที่เชื่อมคนต่างถิ่นให้อยู่ด้วยกันได้

  43. ตัวอย่างรูปแบบการพัฒนาตัวอย่างรูปแบบการพัฒนา

More Related