1 / 41

Chapter 13 Leadership and Ethics

Chapter 13 Leadership and Ethics. Learning Objectives. ให้ความหมาย leadership และ ทำความเข้าใจบทบาทและความสำคัญอันเอื้อต่อความสำเร็จในการบริหาร IT projects. อธิบายถึง 5 แนวทางในการเป็น Leadership อย่างเหนือชั้น อธิบายถึง leadership 6 สไตล์

percy
Download Presentation

Chapter 13 Leadership and Ethics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 13Leadership and Ethics

  2. Learning Objectives • ให้ความหมาย leadership และ ทำความเข้าใจบทบาทและความสำคัญอันเอื้อต่อความสำเร็จในการบริหาร IT projects. • อธิบายถึง 5 แนวทางในการเป็น Leadership อย่างเหนือชั้น • อธิบายถึง leadership6 สไตล์ • อธิบายถึงแนวความคิดของ emotional intelligence และ มันสามารถช่วยให้คนกลายเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น • กล่าวเกี่ยวกับเรื่องจรรยาบรรณและทำความเข้าใจถึงความสำคัญที่มีต่อ project leadership. • ทำความเข้าใจ ethical challenges บางอย่างที่อาจเผชิญเมื่อเป็น project leader หรือ project team member. • อธิบายถึงกระบวนการในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องจรรยาบรรณ • ทำความเข้าใจวัฒนธรรมและความแตกต่าง รวมถึงความท้าทายในการนำและบริหาร multicultural project.

  3. Project Leadership • Management • เน้นที่นโยบายและระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ อันนำมาเป็นกฏเกณฑ์และการคาดการณ์สถานการณ์ที่ซับซ้อนขององค์กร • โดยทั่วไปแล้ว หมายถึงการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับ การวางแผน การจัดองค์กร การควบคุม การจัดคนเข้าทำงาน การประเมิน (evaluating) และ การเฝ้าดู (monitoring) • Leadership • มีความแตกต่างจากการบริหาร แม้ว่าจะมีบางส่วนทับซ้อนกันบ้าง • เป็นศูนย์กลางของวิสัยทัศน์ การเปลี่ยนแปลง และการกระทำใด ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์อันเกี่ยวข้องกับ ทิศทางและการปรับการทำงานของบุคลากร รวมถึงการโน้มน้าว (motivate)เขาเหล่านั้น

  4. Leadership Is Different From Management ภาวะผู้นำจะแตกต่างกับการบริหารเหตุผลของความแตกต่างนั้นคงไม่เหมือนกับที่คนทั่วไปคิดกัน ภาวะผู้นำไม่ใช่คนลึกลับและเรื่องลึกลับแต่อย่างใด มันไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวกับความสามารถพิเศษหรือมีลักษณะประหลาดต่างจากผู้อื่น มันไม่ถึงขนาดต้องไปหาคนไม่กี่คนจากคนจำนวนมากมาย และก็ไม่ได้หมายความว่า ภาวะผู้นำจะดีกว่าการบริหาร หรือ ทดแทนกันได้ แต่ภาวะผู้นำและการบริหารคือระบบการกระทำสองลักษณะที่แตกต่างกันแต่ชดเชยซึ่งกันและกัน ทั้งคู่เป็นสิ่งจำเป็นในการประสบผลสำเร็จในธุรกิจที่สภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น (Kotter, 2001: p.3)

  5. Some Modern Approaches to Leadership • Kouzes & Posner (2002) ได้ทำการวิจัยมากกว่า 20 ปีเกี่ยวกับ effective leadership • พบว่า ผู้นำมักเป็นคนธรรมดาที่ช่วยแนะนำผู้อื่น • กำหนดแนวทางปฏิบัติในการเป็นผู้นำชั้นยอดเพื่อช่วยให้คนทั่วไปกลายเป็นผู้นำที่ประสบผลสำเร็จ

  6. Figure 13.1

  7. Five Practices of Exemplary Leadership • 1) เป็นต้นแบบนำทาง ( Model the way) • ถือเป็น Most effective leaders และนำโดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่าง (lead by example) • มีพฤติกรรมแบบ wins respect ไม่ใช่เป็นผู้นำโดยชื่อหรือตำแหน่ง • หาแนวทางของเขาบนพื้นฐานของคุณค่าและความเชื่อแห่งตน โดยถือว่า สิ่งที่ตนเองกระทำมีความสำคัญกว่าคำพูด • การวางแนวทางโดยการทำให้ดูเป็นตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นว่าอะไรคือสิ่งที่เขาในฐานะผู้นำคาดหวังจากผู้อื่นและเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้อื่นยอมรับการเป็นผู้นำของเขา

  8. Five Practices of Exemplary Leadership • 2) สร้างแรงดลใจต่อวิสัยทัศน์ร่วม (Inspiring a shared vision) • ผู้นำซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหลาย (Exemplary leaders)เป็นผู้มี exciting vision หรือ exciting dream อันเป็นเสมือนพลังในการจุดประกาย แห่งความใฝ่ฟันว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร (เช่น การสร้างภาพแห่งอนาคต (inventing the future)) • วิสัยทัศน์ควรเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้คน ทำให้เขาเกิดความมุ่งมั่น มีเจตนาแน่วแน่ที่จะไปให้ถึงวิสัยทัศน์ข้างต้น ดังนั้นผู้นำต้อง • ทำความเข้าใจถึงสิ่งที่เขาต้องการ ใส่ใจ และบรรยายออกมาให้ได้ • การพบปะเพื่อถ่ายทอดวิสัยทัศน์กับผู้อื่น ควรเป็นไปในเชิงสนทนา ไม่ใช่แจ้งให้ทราบฝ่ายเดียว

  9. Five Practices of Exemplary Leadership • 3) กล้าท้าทายต่อกระบวนการ (Challenging the process) • ผู้นำที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเภทนี้ต้องมีความกล้าหาญและยอมรับความท้าทายในสิ่งใหม่ ๆ มักไม่ติดยึดอยู่กับสิ่งเดิม ๆ • ผู้นำเหล่านี้มักมองหาโอกาสใหม่ ๆ ทางด้านการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาให้ดีขึ้น และการปรับปรุง • แต่ผู้นำทั้งหมดไม่สามารถสร้าง พัฒนา หรือ ทำผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ การบริการใหม่ ๆ หรือ กระบวนการใหม่ ๆ ออกมาได้ • เขามักเป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อจับแนวความคิดดี ๆ ออกมา แล้วให้การสนับสนุนแนวความคิดข้างต้น และท้าทายกระบวนการในการทำแนวความคิดนั้น ๆ ให้เป็นจริง • เขาสามารถลดความเสี่ยงอันอาจทำให้เกิดความล้มเหลวลงได้ต่ำกว่าผู้อื่น ในขณะที่ทำให้ผู้อื่นรู้สึกปลอดภัยและสะดวกใจที่จะรับความเสี่ยงนั้น ๆ

  10. Five Practices of Exemplary Leadership • 3. เพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานให้ผู้อื่น (Enabling others to act ) • ผู้นำต้องอาศัยผู้อื่นให้ทำงานให้โดยการกระตุ้นให้ร่วมมือกันและสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นระหว่าง project stakeholders • ผู้นำทำการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อให้ผู้อื่นทำงานออกมาได้ดี • ผู้คนควรจะรู้สึกถึงการเอื้ออำนาจและได้รับการชักจูงให้ทำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด มีความรู้สึกว่างานนั้น ๆ เป็นของตนเองและภูมิใจในสิ่งที่เขาทำ • ผู้นำควรให้อำนาจกับผู้อื่นในการตัดสินใจ ไม่ควรหลงติดอยู่กับอำนาจนั้น • กล่าวง่าย ๆ ว่า ผู้นำมักเปลี่ยนผู้ตามให้เป็นผู้นำตัวของเขาเอง

  11. Five Practices of Exemplary Leadership • 5. กระตุ้นหัวใจ (Encouraging the heart) • ผู้นำที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้นยั่วเย้าคนอื่น ๆ ให้ทำงานต่อไปโดยการบำรุงขวัญและกำลังใจ • สามารถแสดงออกง่าย ๆ เช่น เขียนโน้ตแสดงความขอบคุณ หรือ ให้ติดป้ายประกาศเพื่อให้คนเดินไปเดินมาทราบ • ผู้นำต้องแสดงความขอบคุณในการมีส่วนร่วมของคนทั้งหลาย และสร้างวัฒนธรรมการให้รางวัลเมื่อบรรลุความสำเร็จ • การให้รางวัลและการเลี้ยงฉลองจะต้องไม่เป็นแบบแสร้งทำหรือทำอย่างเสียไม่ได้ • ต้องเชื่อมการให้รางวัลเข้ากับผลของการปฏิบัติงาน • การประกาศเกียรติคุณและการฉลองควรปรับเข้ากับคุณค่าของกลุ่ม อันจะทำให้สามารถสร้างผลงานที่ระบุได้อย่างชัดเจนรวมทั้งสปิริตอันควรเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาในการทำโครงการ

  12. Leadership Styles • effective leader ส่วนมากมีการผสมกันระหว่าง distinct leadership styles • จากการศึกษา 3,871 executives worldwide โดย Daniel Goleman ในปี 2000 ได้ตั้งข้อสังเกตว่า the best leaders จะไม่มีแค่ leadership style แบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น แต่มีหลาย different styles ขึ้นกับสถานการณ์ • ต่อไปนี้คือ 6 สไตล์ที่สามารถนำไปใช้เกิดประสิทธิภาพและผลลัพธ์ที่ต่างกัน • The Coercive Style • The Authoritative Style • The Affiliative Style • The Democratic Style • The Pace Setting Style • The Coaching Style

  13. Leadership Styles:The Coercive Style (ผู้นำแบบเผด็จการ) • Attitude: “ทำตามที่ฉันบอก (do as I say)” • จะมีประสิทธิภาพในกรณีที่อยู่ในสถานการณ์วิกฤติ, เป็นจุดเริ่มต้นเพื่อให้สถานการณ์วกกลับ, จัดการกับปัญหาที่เกี่ยวกับพนักงาน หรือ เมื่อพยายามเพื่อให้บรรลุผลที่ต้องการทันทีทันใด • แต่จะไม่มีประสิทธิภาพในหลาย ๆ สถานการณ์ และยังอาจส่งผลกระทบทางลบให้กับบรรยากาศในการทำงานขององค์กรหรือโครงการ • สามารถก่อให้เกิดอุปสรรคต่อแนวความคิดใหม่ ๆ และ เกิดข้อจำกัดในด้านการสื่อสาร • ผู้คนจะกลายมาเป็นไม่พอใจ หรือ เข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นตามความจริง อันนำไปสู่ความสูญเสียความริเริ่มการจูงใจ ความจริงใจ และ ความรู้สึกเป็นเจ้าของ

  14. Leadership Styles:The Authoritative Style (ผู้นำแบบแบบชักจูง) • Attitude: “เดินตามฉันมา (Come with me!)” • แทนที่จะใช้การออกคำสั่ง ผู้นำแบบนี้จะ ชักจูงทีมงาน ซึ่งถึงแม้จะใช้เวลานานหน่อย แต่ก็มีผลดีในระยะยาวทั้งกับตัวองค์กรเองและกับพนักงาน ซึ่งในการเป็นผู้นำแบบนี้ คุณจะต้องมั่นใจว่า ทีมงานของคุณ เข้าใจถึงที่มาที่ไป ถึงการกระทำ และแนวทางที่คุณต้องการจะได้ • ผู้นำแบบนี้จะมีวิสัยทัศน์และความกระตือรือร้น • แสดงพนักงานควรทำงานอย่างไรจึงจะสอดคล้องกับภาพรวม • ทำให้คนเชื่อว่างานของเขามีความหมายและมีเป้าประสงค์ • ทำให้คนมองภาพมาตรฐานของความสำเร็จและผลงานที่ต้องการอย่างชัดเจน • ผู้นำแบบนี้ใช้ได้ดีที่สุดเมื่อองค์กรหรือโครงการเคลื่อนที่แบบแกว่งไปมา(adrift) • ถ้าผู้นำไม่ค่อยมีประสบการณ์แล้วไปทำงานกับผู้ชำนาญการณ์หรือมีประสบการณ์มากกว่า จะไม่ดีเพราะอาจจะไม่ถูกยอมรับ

  15. Leadership Styles:The Affiliative Style (ผู้นำแบบเพื่อนร่วมงาน) • Attitude: “people come first!” • ผู้นำประเภทนี้ จะปฏิบัติตนดั่งเป็นเพื่อนร่วมงานของทีมงาน โดยให้ความสำคัญกับเรื่องของ "คน" เป็นหลัก ให้ความสำคัญของพนักงานและทักทายทุก ๆ คนด้วยความเสมอภาคกัน • มีแนวความคิดว่า คนควรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึงเน้นไปในเรื่องการสื่อสาร แบ่งปันความคิด ให้กำลังใจ และ จัดการกับความเสี่ยงร่วมกัน • ผู้นำมักจะไม่กำหนดกฏเกณฑ์ที่ไม่จำเป็นและมักไม่กำหนดงานอย่างเป็นโครงสร้าง ซึ่งมันก็จะวิ่งเข้าสู่คำถามว่า แล้วใครล่ะจะเป็นผู้กำหนด • ใช้ได้ดีในสถานการณ์ที่ซึ่งผู้นำต้องการสร้างความกลมเกลียว อารมณ์ ความไว้วางใจ และ การสื่อสาร ของทีมให้ไปทางเดียวกัน • แต่จะไม่ดีถ้าผู้คนต้องการโครงสร้างของงานและการกำหนดทิศทางที่จะไป

  16. Leadership StylesThe Democratic Style (ผู้นำประชาธิปไตย) • Attitude: “what do you think?” • เพื่อความเสมอภาค ผู้นำประเภทนี้ ต้องการที่จะสร้างความสมานฉันท์ให้แก่เหล่าทีมงาน โดยใช้การออกเสียงเพื่อซื้อใจทีมงาน และเลือกหนทางที่ทีมงานต้องการมากที่สุด นี่ก็เพื่อให้ทีมงานรู้สึกว่า พวกเขาเป็นส่วนสำคัญขององค์กร ซึ่งจะทำให้พวกเขาตั้งใจทำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ • ข้อควรระวังคือ อาจจะใช้เวลาค่อนข้างมากเพื่อให้ได้ข้อตัดสินใจออกมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อไม่สามารถเข้าสู่เสียงเอกฉันท์ได้และองค์กรอาจจะแบ่งเป็นพรรคเป็นพวกขึ้นมาได้ มากไปกว่านั้น บางทีสิ่งที่ทีมงานของคุณ vote ออกมา อาจจะไม่ใช่สิ่งที่ดีที่สุด สำหรับองค์กรในระยะยาว • ใช้ได้ดีกับผู้นำที่ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วม หรือ ความเป็นเอกฉันท์ หรือ gain valuable input ซึ่งกันและกัน • ใช้เวลาประชุมนาน ให้มุมมองต่อกลุ่มในเชิงไม่มีผู้นำ จึงไม่เหมาะสมในสถานการณ์วิกฤติ หรือ ทีมกำลังต้องการคำแนะนำ

  17. Leadership Styles:The Pacesetting Style (ผู้นำตัวอย่าง) • Attitude: “do as I do, now!” • ผู้นำแบบนี้ เน้นหนักในด้านการทำตัวเป็นตัวอย่างแก่ลูกน้อง โดยสร้างมาตราฐานที่สูงให้แก่ตนเองในการทำงาน ซึ่งตรงนี้จะกระตุ้นให้ลูกน้องหรือทีมงานเห็นตัวอย่างที่ดีในการทำงานและพยายามเลียนแบบบ้าง ข้อดีก็คือ ผู้นำแบบนี้จะสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ดีและมีประสิทธิภาพได้ทำให้บ่งชี้ข้อด้อยและปรับเปลี่ยนได้เร็ว • Morale จะลดลงถ้าคนรู้สึกว่าถูกกดดันในเรื่องความต้องการด้านความเป็นเลิศหรือ performance • Goals อาจชัดเจนโดยตัวผู้นำ แต่อาจไม่ใช่ทุกคน ดังนั้น ผู้นำอาจต้องมุ่งเน้นเป็นรายตัว • คนอาจเสียกำลังใจและความมุ่งมั่น ถ้างานเริ่มเปลี่ยนเป็น task-focused, routine, และ น่าเบื่อ • ถ้าผู้นำไม่อยู่ คนอาจจะรู้สึกไร้ทิศทาง(ในการทำงาน) เพราะว่า ผู้นำคือผู้กำหนดทางเดินทั้งหมด • อาจเหมาะสมในสถานการณ์ที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็วจากการชักจูงอย่างรุนแรง เพื่อให้เดินไปตามกรอบ และให้ทีมไปทางเดียวกัน

  18. Leadership Styles:The Coaching Style (ผู้นำสร้างคน) • Attitude: “try this!” • ผู้นำแบบนี้เน้นหนักในด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลมากกว่าการทำงานตรงหน้า เพื่อสร้างพนักงานที่มีคุณภาพคับแก้ว จริง ๆ ในการทำงาน • ยอมรับในความผิดหรือข้อบกพร่องเล็ ๆ น้อย ๆ และมองในแง่เป็นประสบการณ์ในการเรียนรู้ • สไตล์นี้ถูกนำมาใช้น้อยที่สุด แต่มีคุณค่าและถือเป็นเครื่องมืออันทรงพลังในการปรับปรุงประสิทธิภาพและบรรยากาศในองค์กรหรือโครงการ • ใช้งานได้ดีในหลาย ๆ สถานการณ์ แต่ได้ผลมากที่สุดเมื่อคนต้องการการสอน (Coach) • ได้ผลน้อยที่สุดเมื่อคนเกิดการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง หรือ ผู้นำไม่มีความรู้ ความสามารถ หรือ ไม่ต้องการเป็นผู้สอน

  19. Emotional Intelligence • จากการศึกษาของ Goleman ได้เสนอแนะว่า ผู้นำควรชำนาญในสไตล์ การชักจูง ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นมิตร (เชิงเพื่อนร่วมงาน) และ การสอนงาน ทั้งหมดนี้จะทำให้มีบรรยากาศการทำงานที่ดี มีประสิทธิภาพสูง • ผู้นำที่มีประสิทธิภาพจะมีความคล่องตัวในการสับเปลี่ยนระหว่าง leadership style ข้างต้นได้ตามต้องการ • ความสามารถนี้ขึ้นกับ emotional intelligence ของแต่ละคน • Emotional intelligence คือ ความสามารถในการทำความเข้าใจและบริหารความสัมพันธ์กับผู้อืนและตนเองให้ดีขึ้น ๆ • แม้ว่า intelligence quotient (IQ) คือ เรื่องที่ขึ้นกับอดีตหรือกรรมพันธุ์ แต่ emotional intelligence สามารถเรียนรู้ได้ (และปรับปรุงได้) ตลอดชีวิต

  20. Emotional Intelligence • การปรับปรุง emotional intelligence ของใครคนใดคนหนึ่ง เหมือนเป็นการเปลี่ยนแปลงอุปนิสัยที่ไม่ดี (bad habit) ดังนั้นจึงต้องอาศัยเวลา ความใจเย็น และใช้พลังอย่างมากมาย • ตัวอย่างเช่น เราอาจใช้ democratic leadership style เมื่อทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปอย่างราบลื่นแต่จะเปลี่ยนเป็น coercive style มากขึ้นเมื่อเรื่องต่าง ๆ ไม่เป็นไปตามแผน เมื่อได้ผลแล้ว เราอาจจุดประกาย (lesson learned)และปรับความคิดของคนอื่น ๆ เพื่อให้เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน • และยังรวมถึงความสามารถอีก 4 ด้านคือ • การระมัดระวังตนเอง (Self-Awareness) • การบริหารตนเอง (Self-Management) • การระมัดระวังทางสังคมกับผู้อื่น (Social Awareness) • ทักษะในการเข้าสังคม (Social Skills)

  21. Emotional Intelligence:Self-Awareness • Emotional Self-Awareness • อ่านและเข้าใจอารมณ์ของตนเองและ เข้าใจว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้นส่งผลกระทบต่องานอย่างไร • Accurate Self-Assessment • วิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของตนเองตามความจริง • Self-Confidence • มีความเชื่อมันและเป็นบวกในคุณค่าของตนเอง

  22. Emotional Intelligence:Self-Management • ควบคุมตนเอง (Self-Control) • Keeping your impulses and negative emotions in check • ซื่อสัตย์ต่อตนเอง (Trustworthiness) • รักษาความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อผู้อื่น • ซื่อตรงต่อหน้าที่ (Conscientiousness) • บริหารตนเองและการสนองตอบต่อผู้อืนอย่างมีประสิทธิภาพ • ปรับปรุงตนเองเสมอ (Adaptability) • ปรับตัวเข้าสู่สถานการณ์ใหม่ ๆ และ บรรลุความท้าทายที่เกิดขึ้น • จับจ้องที่ผลสำเร็จ (Achievement Orientation) • ผลักดันตนเองให้บรรลุถึงมาตรฐานอันเป็นเลิศตามที่ตั้งใจไว้ • ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ (Initiative) • จับประเด็นเพื่อค้นหาโอกาสใหม่ ๆ

  23. Emotional Intelligence:Social Awareness • เห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathy) • รับรู้และเข้าใขความรู้สึก มุมมอง ของผู้อื่น จริงใจและใส่ใจในการเข้าร่วมแก้ปัญหา • Organizational Awareness • รับรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ ความเป็นไปของวิถีชีวิตในองค์กร สร้างเครื่อข่าย (สังคมกับคนอื่น) และเจริญรอยตามนโยบายขององค์กร • มุ่งเน้นที่การให้บริการ (Service Orientation) • รับรู้และบรรลุถึงสิ่งที่ลูกค้าต้องการ

  24. Emotional Intelligence:Social Skills • เป็นผู้นำทางด้านวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) • หาโอกาสเผยแพร่วิสัยทัศน์ให้กับผู้อื่น • ชักชวน (Influence) • มีแนวทางในการโน้มน้าว ชักชวน ให้คล้อยตามในเรื่องที่ท่านตัดสินใจ • พัฒนนาผู้อื่น (Developing Others) • เสริมศักยภาพของผู้อื่นผ่านข้อมูลป้อนกลับ (feedback)และ แนะนำแนวทาง • การสื่อสาร (Communication) • รับฟังและส่งสารอย่างชัดเจน มีการใช้ข้อความที่มีจุดมุ่งหมายชัดแจ้ง • เป็นตัวเร่งเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change Catalyst) • ริเริ่มแนวความคิดใหม่ ๆ และนำผู้คนไปในทิศทางที่ถูกต้อง • บริหารข้อขัดแย้ง (Conflict Management) • มีความสามารถในการลดความขัดแย้ง และช่วยให้ได้ทางออกของข้อขัดแย้ง

  25. Emotional Intelligence:Social Skills • สร้างพันธะผูกพัน (Building Bonds) • สร้างและรักษาโครงข่ายของความสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร • การทำงานเป็นทีมและการร่วมือกัน (Teamwork and Collaboration) • ก่อให้เกิดความร่วมมือกันและสร้างทีมขึ้นมา

  26. Emotional Intelligence • แต่ละคนสามารถควบคุม emotional intelligence และ leadership ของเขาให้มีประสิทธิภาพได้โดยการถามว่า • ปัจจุบันนี้เราคือใคร (Who Am I Now)? • ใครที่เราอยากจะเป็นแบบนั้น (Who Do I Want to Be)? • ต้องซื่อสัตย์ต่อการประเมินว่าผู้อื่นมองเราในฐานะผู้นำของเขาอย่างไร และ เราต้องการให้เขามองเราอย่างไรในอนาคต • อาจใช้ 360-degree feedback จาก เพื่อน ลูกน้องและผู้อยู่เหนือเราขึ้นไป • ขั้นตอนต่อไป คือ จัดทำแผนที่จะเดินจากที่เราเป็นอยู่ในปัจจุบันไปยังสิ่งที่เราอยากเป็นในอนาคต

  27. จริยธรรมในโครงการ (Ethics in Projects) • จริยธรรมนิยามได้ว่าเป็น a set of moral principles and values • ปัญหาทางจริยธรรม (Ethic dilemma) จะเพิ่มขึ้นเมื่อคุณค่าแห่งบุคคลเกิดข้อขัดแย้ง • พนักงานต้องกำหนดแนวทางเพื่อใช้เป็น ประมวลจริยธรรมที่เขาต้องทำตาม เช่น เวลาใดคือเวลาเข้างาน เวลาใดคือเวลาเลิกงาน จะต้อนรับขับสู้ผู้ที่เป็นลูกค้าอย่างไร เป็นต้น • ผู้นำควรบ่งชี้แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม ควรปฏิบัติ และ ไม่เหมาะสม ไม่ควรปฏิบัติ แล้วสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

  28. Ethics in Business • จริยธรรมกลายเป็นเรื่องที่นิยมกล่าวถึงกันมากขึ้นในธุรกิจและโรงเรียนสอนธุรกิจ เพราะผลอันเกิดจากจริยธรรมจำนวนหนึ่งได้เริ่มกัดกร่อนองค์กรให้หลอมละลาย • Unethical business behaviors • ความเสียหายคือเงิน • อาจผิดกฎหมาย ผลลัพธ์คือคุก ตาราง • เป็นไอ้ตัวร้ายในวงการธุรกิจ! • ผู้คนต้องการทำงานหรือทำธุรกิจกับองค์ที่เขาไว้วางใจ • อย่างไรก็ตาม ethical decisions ยังไม่ชัดเจนมากนัก • To a large degree legality and ethics are governed by society and culture – i.e., the shared beliefs, assumptions, and values that we learn and that guide or influences our behavior

  29. Ethics Versus Legality Figure 13.2

  30. Ethical Leadership • การเป็นไปตามสังคม (Socialization) • กระบวนการอันเกิดจากผู้คนเรียนรู้วัฒนธรรมขององค์กร อันเกิดจากมีผู้นำ (สิ่งนั้น ๆ )เข้ามาในองค์กร • สามารถคิดในเชิงเป็นทางการ (เช่นการอบรม) หรือ เป็นทางการน้อยลง( เช่นปฏิสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้างานกับผู้ร่วมงาน) • คนใหม่จะเรียนไม่เพียงแต่การแต่งกายเท่านั้น แต่จะรวมไปถึงนิสัย (พฤติกรรม) ในการยอมรับและไม่ยอมรับการแต่งกายนั้น ๆ ด้วย • สิ่งที่ตามมาก็คือ กระแสสังคมจะสนับสนันหรือไม่สนับสนันพฤติกรรมทางด้านจริยธรรมไปด้วย

  31. Ethical Leadership • ผู้คนจะมองผู้นำของเขาในแง่ของ ethical guidance • ถ้าหัวหน้าไม่มี guidance เขาจะเสาะหาจากคนอื่น (อาจจะตั้งใจนำ หรือไม่ตั้งใจนำก็แล้วแต่) ซึ่งอาจมีพฤติกรรมไปในทางไร้จริยธรรม • ผู้บริหารโครงการต้องทำตนเป็น moral individual และ moral manager/leader ผู้ซึ่งกำหนด the right set of values and sends the right message to shape an ethical culture • ผู้นำจะตกอยู่ภายใต้ 4 หลักการนี้ • ภาวะผู้นำที่ไร้จริยธรรม (Unethical Leaderships) • ภาวะผู้นำเจ้าเล่ห์ (Hypocritical Leadership) • ภาวะผู้นำกึ่งมีจริยธรรม (Ethically Neutral Leadership) • ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม (Ethical Leadership)

  32. Common Ethical Dilemmas • Human Resource Situations • ผู้นำโครงการควรสร้าง project environment ซึ่งคนรู้สึกปลอดภัยและพึงพอใจเขาจึงจะทำงานได้ดีที่สุด • พึงระมัดระวังเรื่องที่จะนำไปสู่ ethical situations ได้แก่: การเลือกที่รักมักที่ชังความเป็นส่วนตัว การคุกคามทางเพศหรือในรูปแบบอื่น ๆ รวมทั้ง การประเมินความสามารถ ระเบียบวินัย การจ้างคน การไล่คนออก และการลดคนงาน • ประเด็นที่ควรพิจารณาคือความยุติธรรมในเทอมของความเท่าเทียมกัน (only performance counts), ความเห็นตรงกัน (expectations are understood and met), และความไม่เอนเอียง (prejudice and bias are not factors)

  33. Common Ethical Dilemmas • ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest) • ได้แก่สิ่งของ เช่นสินบนหรือการต่อต้านโดยเปิดเผย หรือ แฝงเร้น เป็นต้น รวมไปถึงความสัมพันธ์อาจเกิดคำถามเรื่องความยุติธรรมกับท่าน • ความไม่เอนเอียง (impartiality)อาจกลายมาเป็นคำถามเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องส่วนตัวและความเป็นมืออาชีพเกิดการทับซ้อนกัน และ ผลประโยชน์ทับซ้อนอาจเกิดขึ้นได้ • Could a gift or personal favor from a vendor or customer be viewed as having an influence on your judgment or a decision? • ความเชื่อมั่นคือ key factor ของความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องส่วนตัวและเรื่องธุรกิจ และ ผลประโยชน์ทับซ้อนจะให้ให้ความเชื่อมั่นลดลง

  34. Common Ethical Dilemmas • ความเชื่อมั่น (Confidence) • ความสัมพันธ์กับ project stakeholders ต้องรักษาให้มั่นคงในแง่ของความเชื่อมั่นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับ การรักษาความลับ ความปลอดภัยและวางใจได้ในผลิตภัณฑ์ ความจริงในการโฆษณา เรื่องที่ได้รับมอบหมายให้ทำเป็นพิเศษ ให้แก่ client หรือ other project stakeholders • ความไว้วางใจจะคลอนแคลนลงเมื่อ your fairness, honesty, หรือ respect ถูกยกขึ้นมาสอบถาท

  35. Common Ethical Dilemmas • Corporate Resources • ท่านเป็นตัวแทนหรือเป็นแบบอย่างขององค์กร ดังนั้นการกระทำของท่านสามารถถูกพิจารณาได้ว่าเป็นการกระทำขององค์กรของท่าน • This may include your opinions or actions, especially if you use corporate resources such as stationary, business cards, an email address, phones, etc for personal reasons • ดังนั้นทรัพยากรของบริษัทต้องใช้กับธุรกิจภายใต้นโยบายที่กำหนดไว้โดยองค์กรของท่าน

  36. Making Sound Ethical Decisions • สืบหาความจริง (Gather the Facts) • กำหนดเรื่องจริยธรรม (Define the Ethical Issue) • บ่งชี้ถึง stakeholder ที่ได้รับผลกระทบ (Identify the Affected Stakeholders) • บ่งชี้ผลที่จะเกิดขึ้นตามมา (Identify the Consequences) • บ่งชี้การบังคับใช้ (Identify the Obligations) • พิจารณา character และ integrity ของท่าน

  37. Multicultural Projects • แม้ว่า international project อาจถูกพิจารณาว่าเป็น multicultural project แต่หลาย ๆ domestic projects ได้กลายเป็น multicultural ไปแล้ว ทั้งนี้เพราะองค์กรได้พยายามใช้พนักงานที่หลากหลาย • และแม้ว่าจริยธรรมถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของภาวะผู้นำก็จริง ในเรื่องความสามารถในการนำและการบริหาร multicultural team ได้กลายมาเป็นทักษะที่สำคัญของ successful project leaders

  38. The Challenge of International Projects • จำนวนสถานที่ตั้งต่าง ๆ • อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา • ข้อกำหนดและกฏหมายต่าง ๆ • ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง • ทัศนคติเกี่ยวกับการทำงานและเวลา • ศาสนา • ภาษา • อาหาร

  39. Understanding and Managing Diversity • ในขณะที่วัฒนธรรมคือ a set of social lessons of behaviors ที่เราเรียนรู้ได้จากเวลาที่ผ่านไป ความหลากหลาย (diversity) ถูกนิยามว่าเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรม เช่นเดียวกับเรื่องเชื้อชาติ จริยธรรม ศาสนา เพศ หรือ อายุ • Diversity Wheel เป็นเครื่องมือที่ใช้ทำความเข้าใจได้ดีขึ้นถึงความแตกต่างของแต่ละคน • มันช่วยให้เรารู้ว่า บางคนอาจดูเหมือนเรา แต่เขาอาจมาจากวัฒนธรรมที่แตกต่าง แม้ว่าจะอยู่ในประเทศเรา หรือภูมิภาคเดียวกับเรา • เราควรเริ่มด้วยการทำความเข้าใจในแต่ละมิติของ Diversity Wheel ที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติ การจูงใจ และพฤติกรรม รวมไปถึง สังคมและกิจกรรมของเขา • เราจะเห็นว่า ไม่เพียงแต่ผู้คนมีความแตกต่างกันเท่านั้น เราอาจเห็นว่า เรามีบางสิ่งบางอย่างที่เหมือนกัน

  40. The Diversity Wheel Figure 13.3

  41. จบหัวข้อ 13 • คำถาม ………..

More Related