1 / 133

หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โครงการศึกษาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อรองรับการกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ. หลักสูตรย่อยต่างๆ. หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

nixie
Download Presentation

หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรการกำหนดตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โครงการศึกษาข้อมูลและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อรองรับการกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ.

  2. หลักสูตรย่อยต่างๆ • หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • หลักสูตรเรื่องมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์งาน รวมถึงการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน • หลักสูตรเรื่องการประเมินค่างานและการกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องการกำหนดกรอบอัตรากำลังภาคราชการพลเรือน

  3. วิวัฒนาการของระบบตำแหน่งในภาคราชการพลเรือนวิวัฒนาการของระบบตำแหน่งในภาคราชการพลเรือน พ.ร.บ. 2551 พ.ร.บ. 2471 พ.ร.บ. 2518 • พ.ร.บ. ฉบับแรก • เปิดโอกาสให้ประชาชน • รับราชการเป็นอาชีพ • การบริหารงานบุคคล • ยึดโยงกับระบบชั้นยศ • ใช้ระบบจำแนกตำแหน่ง • กำหนดหน้าที่ของ • ตำแหน่งงาน • (Job Description) • กำหนดสายงาน • และระดับตำแหน่ง (ซี) • บัญชีเงินเดือนบัญชีเดียว • จัดกลุ่มประเภทตำแหน่ง • ตามลักษณะงาน • แบ่งเป็น 4 กลุ่ม • เน้นความสามารถของบุคคล • แนวคิด การบริหารผลงาน (Performance Management) ก้าวที่ 1 ก้าวที่ 2 ก้าวที่ 3

  4. แนวคิดหลักในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนสำหรับภาคราชการพลเรือนแนวคิดหลักในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนสำหรับภาคราชการพลเรือน แนวคิดหลักในการออกแบบคือ คนที่มีคุณภาพ ใน งานที่เหมาะสม กับ ทักษะที่ต้องการ และ ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม

  5. หลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์หลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ หลักคุณธรรม (Merit) หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน (Performance ) หลักความสมดุล (Work Life Balance ) กระจายความรับผิดชอบ ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์

  6. ระบบการกำหนดตำแหน่ง

  7. ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 1 การเปรียบเทียบระบบจำแนกตำแหน่งในภาครัฐ การจัดระบบตำแหน่งในภาครัฐมีหลายรูปแบบโดยสามารถแบ่งได้ดังนี้ ระดับชั้นงานแบบจุด (Spot Structure) ระดับชั้นงานแบบแคบ (Narrow Grade) ผสมแบบควบ (Career Grade) Job C เช่น ข้าราชการอื่นๆ ที่ยังอิงระดับซีเดิม เช่น ข้าราชการ กทม. เช่น อัยการ ข้าราชการตุลาการ ควบ 2 Job B Job A ควบ 1 ระดับชั้นงานแบบกว้าง (Braodbanding) ระดับชั้นงานแบบแคบตามชั้นยศ (Rank Classification) +/-20-30% +/-100-200% Band 2 Band 1 เช่น ข้าราชการครู ข้าราชการพลเรือน เช่น ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ

  8. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 • เมื่อประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปีพุทธศักราช 2540 ทำให้เกิดองค์กรอิสระในภาครัฐ 8 องค์กร ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ถูกยกเลิกไป แต่สถานภาพขององค์กรอิสระยังคงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 องค์กรอิสระทั้ง 8 องค์กร นั้น ได้แก่1) ศาลรัฐธรรมนูญ2) ศาลปกครอง3) ศาลยุติธรรม4) ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา5) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ6) คณะกรรมการการเลือกตั้ง7) สำนักงานคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน8) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ • หน่วยงานเหล่านี้นอกจากจะได้รับเงินเดือนและสวัสดิการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยเงินและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนแล้ว ยังมีการกำหนดเงินเพิ่มพิเศษต่างๆ หรือเงินประจำตำแหน่งภายใน แต่ละหน่วยงานแตกต่างกันไปบ้าง ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

  9. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 1) ศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์กรวินิจฉัยสูงสุดในคดีรัฐธรรมนูญ มีอำนาจหน้าที่ควบคุมกฎหมายหรือร่างกฎหมายเพื่อไม่ให้ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มีอำนาจในการพิจารณาวินิจฉัยสมาชิกภาพหรือคุณสมบัติของสมาชิกรัฐสภา รัฐมนตรี คณะกรรมการการเลือกตั้ง และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่างๆ เนื่องจากเป็นองค์กรที่เกิดขึ้นใหม่จึงใช้ระบบค่าตอบแทนเป็นกลไกในการดึงดูดใจคนให้มาทำงานที่หน่วยงาน โดยมีการให้ค่าตอบแทนพิเศษเพิ่มขึ้นตามซีตั้งแต่ 1-8 และยังมีสวัสดิการอื่นๆ ที่ทางหน่วยงานจัดให้นอกเหนือจากข้าราชการ พลเรือนทั่วไป อัตราค่าตอบแทนพิเศษของข้าราชการสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ

  10. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 2) ตุลาการศาลปกครอง ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น นอกจากเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งแล้ว ตุลาการศาลปกครองยังได้รับเงินค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายอื่นในกรณีเดินทางไปราชการ และบำเหน็จ บำนาญ เหมือนกับข้าราชการพลเรือนทั่วไป

  11. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 3) ตุลาการศาลยุติธรรม ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น

  12. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) 4) ผู้ตรวจราชการแผ่นดินรัฐสภา ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น

  13. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 5) คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.)

  14. ระบบค่าตอบแทนในองค์กรอิสระที่เกิดขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 (ต่อ) ตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น 6) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)

  15. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการครูจะอิงกับ พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และปรับปรุงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 โดยมีการกำหนดข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี 3 ประเภทดังนี้ • ค. ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น มีดังต่อไปนี้ • ศึกษานิเทศน์ • ตำแหน่งที่เรียกชื่ออื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดหรือตำแหน่งของข้าราชการที่ ก.ค.ศ. นำมาใช้กำหนดให้เป็นตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาได้แก่ตำแหน่งดังต่อไปนี้ • รองผอ. สถานศึกษา • ผอ.สถานศึกษา • รองผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • รองผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด • ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา ได้แก่ตำแหน่งดังต่อไปนี้ • ครูผู้ช่วย • ครู • อาจารย์ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ • รองศาสตราจารย์ • ศาสตราจารย์

  16. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นอกจากนั้นการกำหนดตำแหน่ง ยังมีการกำหนดวิทยฐานะเพื่อกำหนดเงินประจำตำแหน่งของตำแหน่งบุคลากรโดยมีการแบ่งวิทยฐานะดังนี้ • ง. ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ มีวิทยฐานะได้แก่ • ศึกษานิเทศน์ชำนาญการ • ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ • ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ • ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ • ค. ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา มีวิทยฐานะได้แก่ • รอง ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชำนาญการพิเศษ • รอง ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ • ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ • ผอ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญพิเศษ • ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะได้แก่ • ครูชำนาญการ • ครูชำนาญการพิเศษ • ครูเชี่ยวชาญ • ครูเชี่ยวชาญพิเศษ • ข.ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษามีวิทยฐานะได้แก่ • รอง ผอ. ชำนาญการ • รอง ผอ. ชำนาญการพิเศษ • รอง ผอ. เชี่ยวชาญ • ผอ. ชำนาญการ • ผอ. ชำนาญการพิเศษ • ผอ. เชี่ยวชาญ • ผอ. เชี่ยวชาญพิเศษ จ. ตำแหน่งเรียกชื่ออื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มีวิทยฐานะ

  17. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการอัยการระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการอัยการ • มีการกำหนดชั้นเงินเดือนตามตำแหน่ง (มาตรา 24 ใน พรบ. ระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ) และได้เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งเป็นเม็ดเงินตามระดับตำแหน่ง • การกำหนดเช่นนี้ทำให้การเลื่อนเงินเดือนจะไม่เกิดขึ้นทุกปี (ยกเว้นในกรณีปรับฐานโครงสร้างเงินเดือนเลยซึ่งปรับครั้งล่าสุด พ.ศ. 2551 ที่ผ่านมา) • อย่างไรก์ดีจากการเปลี่ยนแปลงในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติให้องค์กรอัยการมีอิสระในการบริหารงานบุคคล ดังนั้นในปัจจุบันมีการร่าง พรบ. เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการอัยการใหม่ ซึ่งกำลังจะยกเลิกบางตำแหน่ง และกำหนดให้บางตำแหน่งเป็นตำแหน่งที่เลื่อนไหลได้ เช่นรองอัยการสูงสุด ได้รับเงินเดือนในตำแหน่งชั้น 7-8 ได้ หรือรองอัยการจังหวัดได้รับเงินเดือนในระดับชั้น 3-4 เป็นต้น จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดิอนของข้าราชการอัยการ พ.ศ. 2551

  18. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหารระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหาร • ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการทหาร ยังคงเป็นแบบชั้นยศเหมือนเดิม แม้ว่าจะมีการปรับ พรบ. ระเบียบข้าราชการทหารในปี พ.ศ. 2551 กล่าวคือแบ่งทหารออกเป็น • ทหารกองประจำการและนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม • ข้าราชการทหารแบ่งออกเป็น 2 ระดับได้แก่ชั้นประทวน (ตั้งแต่จ่าสิบตรี จนถึงพันจ่าอากาศเอกพิเศษ) และชั้นสัญญาบัตร (ตั้งแต่ร้อยตรี จนถึง พลเอกหรือจอมพล) • ใน พรบ. ใหม่ยังกำหนดให้ข้าราชการทหารบางตำแหน่งมีสิทธิได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน ประกอบกับในปัจจุบัน นอกจากนั้นยัง • กำหนดให้บางตำแหน่งเป็นตำแหน่งที่เลื่อนไหลได้ เช่น นายทหารสัญญาบัตรยศร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี ถึงร้อยเอก เรือเอก เรืออากาศเอกให้ได้รับเงินเดือนระดับ น. ๑ ถึง น. ๒ หรือให้ข้าราชการทหารซึ่งได้รับเงินเดือนเต็มขั้นสูงสุดของระดับที่ตนได้รับอยู่ในขณะนั้นในปีงบประมาณใด หากผ่านการประเมินสมรรถภาพความประพฤติ ความรู้ความสามารถและผลการปฏิบัติหน้าที่แล้วให้มีสิทธิได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้นตามที่กำหนดไว้โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงกลาโหมกำหนด จาก พรบ. ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2551

  19. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการตำรวจระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการตำรวจ • ระบบตำแหน่งของตำรวจ ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการตำรวจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2538 มีความคล้ายคลึงกับของข้าราชการทหารกล่าวคือเป็นลักษณะการชั้นงานตามชั้นยศ (Rank Classification) กล่าวคือแบ่งตำรวจออกเป็น • พลตำรวจกองประจำการและพลตำรวจสำรอง • ข้าราชการตำรวจแบ่งออกเป็น 2 ระดับได้แก่ ชั้นประทวน (ตั้งแต่สิบตำรวจตรี จนถึงนายดาบตำรวจ) และชั้นสัญญาบัตร (ตั้งแต่ร้อยตำรวจตรี จนถึง พลตำรวจเอก) • โดยแต่ละชั้นยศจะมีการกำหนดการได้รับเงินเดือนแบบเป็นขั้นตั้งแต่ระดับ พ. 1-2 ป. 1-3 ส. 1-9 • ปัจจุบันมีการปรับโครงสร้างเงินเดือนครั้งสุดท้ายเมื่อ พ.ศ. 2551 จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐

  20. ระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการการเมืองระบบการกำหนดตำแหน่งของภาคราชการฝ่ายการเมืองและข้าราชการการเมือง • ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองและข้าราชการเมือง มีการกำหนดโครงสร้างตำแหน่งเหมือนกันคือกำหนดตาม ชื่อตำแหน่ง เป็นโครงสร้างจุดเดียว (Spot Rate) จากพระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๐

  21. ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทยระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย • บริบททางธุรกิจ เช่น เป็นบริษัทพึ่งเริ่มก่อตั้ง บริษัทที่อยู่มาระยะหนึ่งต้องการขยายกิจการ ฯลฯ • ลักษณะของธุรกิจ เช่น ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจโทรคมนาคม ธุรกิจอุตสาหกรรมหนัก ธุรกิจอาหาร ฯลฯ • ขนาดของธุรกิจ เช่น จำนวนพนักงาน จำนวนสาขา/สถานที่ประกอบการ • ลักษณะความเป็นเจ้าของ (เช่น เป็น Family owned business บริษัทข้ามชาติ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหุ้น) • ความเข้มแข็งของผู้บริหารและระบบทรัพยากรบุคคล สำหรับในเอกชนนั้นการกำหนดตำแหน่งและค่าตอบแทนที่มีหลากหลายขึ้นอยู่กับ ดังนั้นในการเปรียบเทียบในรายงานฉบับนี้จึงเป็นการแสดงความหลากหลายของกลุ่มองค์กรเอกชนจำนวนหนึ่ง เท่านั้นโดยที่ไม่อาจสรุปได้ว่าองค์กรเอกชนทั้งหมดจะมีรูปแบบและวิธีการบริหารตำแหน่งและค่าตอบแทนเป็น เช่นเดียวกับที่นำเสนอในรายงานนี้

  22. ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทยระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย โดยทั่วไปองค์กรเอกชนจะมีกระบวนการการจัดตำแหน่งใน 4 ลักษณะกล่าวคือ • โครงสร้างตำแหน่งเดียว และมีชั้นงานแบบแคบ กล่าวคือทุกตำแหน่งจะถูกจัดอยู่ในโครงสร้างตำแหน่งเดียวซึ่งมีระดับชั้นงานจำนวนมาก (Narrow Grade) บริษัทเอกชนส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้เนื่องจากบริหารจัดการง่าย และการจ่ายค่าตอบแทนขึ้นกับผลการประเมินค่างาน ตัวอย่างเอกชนที่ใช้ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบด้วยงานตั้งแต่ช่าง (technician) นักวิชาการ/วิชาชีพ เช่น วิศวกร และผู้บริหาร นอกจากนั้นรัฐวิสาหกิจหลายๆ แห่งในประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้ • โครงสร้างตำแหน่งหลายโครงสร้างตามวิชาชีพ/ลักษณะงาน และมีการชั้นงานแบบแคบ กล่าวคือเป็นการประยุกต์ใช้ระบบการจัดชั้นงานแบบแคบ (Narrow Grade) แต่เพิ่มความซับซ้อนในการบริหารงานกล่าวคือมีการจัดโครงสร้างตำแหน่งแตกต่างกันตามวิชาชีพ เช่น บางแห่งแบ่งเป็นงานสนับสนุนกับงานวิชาชีพหลัก หรือบางแห่งแบ่งตามวิชาชีพ เช่น โครงสร้างตำแหน่งวิศวกร โครงสร้างตำแหน่งบุคลากร โครงสร้างตำแหน่งการเงินและบัญชี เป็นต้น • โครงสร้างตำแหน่งเดียว และมีการชั้นงานแบบกว้าง (Broadbanding) กล่าวคือทุกตำแหน่งจะถูกจัดอยู่ในโครงสร้างตำแหน่งเดียวซึ่งมีระดับชั้นงานน้อยและกว้างบริษัทเอกชนส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้เนื่องจากโครงสร้างในการบริหารเป็นแบบ Flat Organization และการปรับเปลี่ยนงานและรูปแบบการทำงานเป็นไปรวดเร็วมาก การบริหารจัดการเน้นการจ่ายตามความสามารถคน มากกว่าค่าของตำแหน่ง ตัวอย่างเอกชนส่วนใหญ่ที่ใช้จะอยู่ในธุรกิจ IT ธุรกิจผลิตภัณฑ์บริโภค (FMCGs) ซึ่งมีการแข่งขันสูง • โครงสร้างตำแหน่งหลายโครงสร้างตามวิชาชีพ/ลักษณะงาน และมีการชั้นงานแบบกว้าง (Broadbanding)

  23. ระบบจำแนกตำแหน่งของภาคเอกชนในประเทศไทย (ต่อ) ความแตกต่างของการจำแนกตำแหน่งในเอกชนหลายๆ แห่งอยู่ที่กลไกในการบริหารตำแหน่งมากกว่า เช่น มีกลไกในการวางระบบในการเลื่อนระดับที่แตกต่างกันในแต่ละตำแหน่งงาน

  24. หลักสูตรย่อยต่างๆ • หลักสูตรภาพรวมระบบจำแนกตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • หลักสูตรเรื่องมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์งาน รวมถึงการเขียนแบบบรรยายลักษณะงาน • หลักสูตรเรื่องการประเมินค่างานและการกำหนดตำแหน่ง • หลักสูตรเรื่องการกำหนดกรอบอัตรากำลังภาคราชการพลเรือน

  25. วัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งวัตถุประสงค์การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เพื่อปรับปรุงและทบทวนสายงานในราชการพลเรือนทั้งระบบให้สะท้อนผลสัมฤทธิ์ในระบบราชการ เพื่อกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนอันนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ระบุได้ชัดเจน เพื่อจำแนกตำแหน่งข้าราชการเป็นกลุ่มตามลักษณะงาน การบริหารค่าตอบแทนและการวางหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลที่แตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ในการบรรจุบุคคลซึ่งจะให้ความสำคัญกับสมรรถนะ (Competency) และผลงาน (Performance) ของบุคคลมากขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างข้าราชการ ส่วนราชการเอกชน บุคคลทั่วไป 32

  26. ประโยชน์ของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งประโยชน์ของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • เป็นเครื่องมืออธิบายลักษณะงานโดยทั่วไปของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมืออธิบายระดับตำแหน่งในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมืออธิบายผลสัมฤทธิ์โดยรวมของตำแหน่งต่างๆ ในแต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมือบริหารผลการปฏิบัติงานให้ผลงานสอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์แต่ละสายงาน • เป็นเครื่องมือบริหารกำลังคนให้มีความรู้ความสามารถเหมาะกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ • เป็นเครื่องมือในการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ

  27. แนวคิดในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวคิดในการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ระดับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องมีเพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ความหมาย เป็นแบบบรรยายลักษณะงานแบบย่อที่ระบุลักษณะงานโดยสังเขป เน้นการมุ่งผลสัมฤทธิ์ประจำตำแหน่ง โดยมีรายละเอียดประกอบด้วยหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณวุฒิที่จำเป็น ได้แก่ ระดับความรู้ ทักษะและสมรรถนะประจำตำแหน่ง ลักษณะพฤติกรรมการทำงานที่เหมาะสมต่อตำแหน่งและจะช่วยส่งเสริมผลงาน ทักษะ/ความรู้Skills/Knowledge (ปัจจัยนำเข้า) Competencies (พฤติกรรม/ ขั้นตอน) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันว่าตำแหน่งงานในระบบ ราชการพลเรือนแต่ละตำแหน่งมีขอบเขตภารกิจหน้าที่ รับผิดชอบเฉพาะตำแหน่งอย่างไร ตลอดจนมีเกณฑ์ คุณวุฒิ คุณสมบัติอย่างไร และผู้ดำรงตำแหน่งควรจะ ประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับ ตำแหน่งและบรรลุผลสัมฤทธิ์ของตำแหน่งได้ดียิ่งขึ้น หน้าที่รับผิดชอบหลัก Accountabilities (ผลสัมฤทธิ์) ขอบเขตผลลัพธ์หลักของงานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องทำให้สำเร็จจึงจะถือว่าสามารถปฏิบัติงานได้ตามวัตถุประสงค์ของตำแหน่งงานในระดับที่ได้มาตรฐาน

  28. หลักการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งหลักการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ปัจจุบัน อนาคต • เพิ่มความคล่องตัวในการบริหาร “คน” • (สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ ฯลฯ) • ปรับปรุงสายงานให้เหมาะสม (จำนวน • สายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ และ คุณสมบัติ • เฉพาะสำหรับตำแหน่ง) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กว้างขึ้น • เน้นบทบาท(role) ในการปฏิบัติงาน • สอดคล้องกับแนวคิด “คนสร้างงาน” และ • knowledgeworkers • กำหนดวุฒิการศึกษากว้างขึ้น ให้ สรก. • พิจารณาให้เหมาะสมกับตำแหน่งและการแต่งตั้ง • ก.พ. บริหารจัดการเฉพาะสายงานกลาง • (service-wide) • สายงานมีความหลากหลาย • ค่อนข้างมาก (465สายงาน) • กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ • และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ • ตำแหน่งชัดเจนมาก ทำให้ขาด • คล่องตัวในการบริหาร “คน” • มุ่งเน้นความชำนาญในสายอาชีพ • (specialization) • ก.พ. บริหารจัดการทุกสายงาน

  29. แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • ก.พ. เป็นผู้จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งสำหรับทุกประเภทตำแหน่ง และทุกสายงาน • ส่วนราชการมีส่วนร่วมในการจัดทำให้สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและลักษณะงานตามความจำเป็นของส่วนราชการ • กำหนดสายงานให้เปิดกว้าง รวมสายงานที่มีลักษณะคล้ายกันเข้าด้วยกัน โดย ส่วนราชการสามารถใช้ดุลพินิจในการสรรหา แต่งตั้ง โอน ย้าย ได้ตามความต้องการของงานอย่างแท้จริง • ส่วนประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเป็นไปตามข้อกฎหมาย • ชื่อตำแหน่งในสายงาน • หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • สาระของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเน้นเนื้อหาข้อความที่กำหนดขึ้นเป็นรูปแบบเดียวกัน • การปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จะพิจารณาให้เป็นไปตามที่ ส่วนราชการแจ้งความจำเป็นมาเป็นหลัก

  30. แนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแนวทางการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • เขียนถึงระดับชำนาญงาน ทุกสายงาน • เขียนถึงระดับอาวุโส เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับตำแหน่งนี้อยู่ใน • ปัจจุบัน ประเภททั่วไป • เขียนถึงระดับชำนาญการพิเศษ ทุกสายงาน • เขียนถึงระดับเชี่ยวชาญหรือ คุณวุฒิ เฉพาะสายงานที่มีการกำหนดระดับ ตำแหน่งนี้อยู่ในปัจจุบัน ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ • เขียน 2 สายงาน จำนวน 2 ระดับ ได้แก่ (1) อำนวยการ (2) อำนวยการเฉพาะด้าน • เขียน 4 สายงาน จำนวน 2 ระดับ ได้แก่ (1) บริหาร(2)บริหารการทูต(3)บริหารงานปกครอง(4)ตรวจราชการกระทรวง ประเภทบริหาร

  31. บทกฎหมายที่เกี่ยวข้องบทกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 45 จัดประเภทตำแหน่งข้าราชการ มี 4 ประเภท มาตรา 46จัดระดับตำแหน่งข้าราชการ มาตรา 47 การกำหนดตำแหน่งในส่วนราชการต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48 มาตรา 48 ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งโดยจำแนกตำแหน่งเป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งให้ระบุชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก และคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไว้ด้วย

  32. ความหมายของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งความหมายของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง คือ เอกสารสำคัญเกี่ยวกับตำแหน่งที่ ก.พ. จัดทำไว้ตามกฎหมาย เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐานในการกำหนดตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญทุกตำแหน่ง และใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงานบุคคลด้านต่าง ๆ เช่น • ใช้เป็นเครื่องมือประกอบการพิจารณากำหนดตำแหน่ง • ใช้เป็นเครื่องมือในการรับสมัครสอบแข่งขันและคัดเลือก • ใช้ประโยชน์ในการบรรจุ แต่งตั้ง ย้าย โอน ข้าราชการพลเรือนสามัญ และการตรวจสอบคำสั่ง • ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดหลักสูตรการสอบแข่งขัน คัดเลือก และเลือกสรรบุคคลเข้าดำรงตำแหน่ง • ใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาประเมินบุคคล • ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดหลักสูตร การจัดการฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล

  33. องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่งองค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเมือง พ.ศ. 2551 องค์ ประกอบ ตาม ม. 48 ชื่อตำแหน่งในสายงาน หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • ตำแหน่งประเภท • ชื่อสายงาน • ระดับตำแหน่ง • ความรู้ความสามารถ ทักษะ • และสมรรถนะที่จำเป็น • สำหรับตำแหน่ง • เลขรหัส/วันที่จัดทำ องค์ ประกอบ อื่น ๆ

  34. รหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่งรหัสมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง X - X - X XX - X ระดับตำแหน่ง กลุ่มอาชีพ สายงาน ประเภทตำแหน่ง 1. กลุ่มงานบริหาร อำนวยการ ธุรการ งานสถิติ งานนิติการ งานการทูตและต่างประเทศ2. กลุ่มงานการคลัง การเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม3. กลุ่มงานคมนาคม ขนส่ง และ ติดต่อสื่อสาร4. กลุ่มงานเกษตรกรรม 5. กลุ่มงานวิทยาศาสตร์6. กลุ่มงานแพทย์ พยาบาลและสาธารณสุข7. กลุ่มงานวิศวกรรม สถาปัตยกรรม และช่างเทคนิคต่างๆ8. กลุ่มงานการศึกษา ศิลปะ สังคม และการพัฒนาชุมชน 1 บริหารระดับต้น 2 บริหารระดับสูง 1 อำนวยการระดับต้น 2 อำนวยการระดับสูง 1 . ประเภทบริหาร 2 . ประเภทอำนวยการ 3 . ประเภทวิชาการ 4 . ประเภททั่วไป 001 บริหาร 002 บริหารงานปกครอง 003 บริหารการทูต 004 ตรวจราชการกระทรวง

  35. ประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ ประเภทอำนวยการ ประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน เป็นหัวหน้าส่วนราชการและรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง กรม ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ทักษะความสามารถเฉพาะ หรือเทคนิคเฉพาะด้าน หรือให้บริการ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา และไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตำแหน่งในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ในทางวิชาการหรือวิชาชีพ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น ตำแหน่งที่มีฐานะและหน้าที่ในการบริหารงาน (จัดการ)เป็นหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม

  36. ชื่อตำแหน่งในสายงาน ชื่อตำแหน่งในการบริหารงาน แนวทางการกำหนดชื่อตำแหน่งในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ชื่อตำแหน่ง กำหนดขึ้นตามมาตรา 44 ซึ่งไม่ได้กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เช่น กำหนดขึ้นตามลักษณะงาน เช่น • นักบริหาร • ผู้อำนวยการ • นักวิเคราะห์นโยบายและแผน • ปลัดกระทรวง /อธิบดี • ผู้อำนวยการสำนัก / กอง • นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

  37. การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก การสรุปสาระงาน หรือ Job Summary จะปรากฏอยู่ในส่วนหน้าที่ ความรับผิดชอบหลัก ซึ่งจะใช้เป็น “มาตรวัด” เบื้องต้นในการพิจารณา กำหนดระดับตำแหน่งในสายงานนั้นๆ ดังนั้น หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ของตำแหน่งแต่ละระดับได้เขียนให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ใน การกำหนดตำแหน่งสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งนั้น ตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ. ตามมาตรา 46

  38. การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น • ปฏิบัติงานในฐานะรองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม กระทรวง ระดับสูง

  39. การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทอำนวยการ • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือสำนักในราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคซึ่งลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมาก ระดับต้น • ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือสำนักในราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคซึ่งลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ ระดับสูง

  40. การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภทวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ที่ไม่ยาก ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ ปฏิบัติการ • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์สูง • ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญสูง ชำนาญการ • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญในงานสูงมาก • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ และความชำนาญในงานสูงมากตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก ชำนาญการพิเศษ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากและมีผลกระทบในวงกว้าง • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง/กรม เชี่ยวชาญ • ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ • ผู้ปฏิบัติงานให้คำปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง ซึ่งมีความรู้ มีความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ทรงคุณวุฒิ

  41. การสรุปสาระของงาน (Job Summary) ในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ตำแหน่งประเภททั่วไป ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานตามแนวทาง ขั้นตอน วิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ค่อนข้างยาก • หัวหน้างาน ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงาน อาวุโส • ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานค่อนข้างสูงในงานเทคนิคเฉพาะด้านหรืองานที่ใช้ทักษะเฉพาะตัว • หัวหน้างานที่ใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชำนาญงานค่อนข้างสูง รับผิดชอบงานที่หลากหลาย ทักษะพิเศษ • ผู้ปฏิบัติงานที่มีความทักษะพิเศษเฉพาะตัว มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานเป็นที่ประจักษ์ ใช้ทักษะและความชำนาญเฉพาะตัวสูง

  42. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • กำหนดรูปแบบการเขียน • คุณวุฒิการศึกษาสำหรับ • ตำแหน่งระดับแรกบรรจุ เป็น • 3 แบบ • 1. สายงานเปิด • 2. สายงานกึ่งปิด • 3. สายงานปิด • สกพ. + ส่วนราชการ ร่วมกำหนดคุณวุฒิให้เหมาะสมกับลักษณะงานและการสรรหา

  43. O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา สายงานเปิด “ ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ” “ ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิหลากหลาย ตามที่สรก. เห็นว่าเหมาะสม เช่น เจ้าพนักงานธุรการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักวิชาการแรงงาน เป็นต้น

  44. “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชากฎหมายหรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง หรือหลายสาขาวิชาดังกล่าว ในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” “ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ หรือสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์หรือสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ดังกล่าวในทางที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ…” O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) สายงานกึ่งปิด สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิบางสาขาวิชาที่กำหนดไว้เท่านั้นแต่สามารถเลือกทางในสาขาดังกล่าวได้ เช่น เจ้าพนักงานเคหกิจการเกษตร นักวิชาการคลัง เป็นต้น

  45. O1 k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) สายงานปิด “ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรืออนุปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ…” “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์…” สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง เช่น โภชนากร นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

  46. k1 แนวทางการกำหนดคุณวุฒิทางการศึกษา (ต่อ) แบบที่ 2 “ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรม และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด…” สายงานปิด สำหรับลักษณะงานที่ต้องการผู้มีคุณวุฒิในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ โดยจำเป็นต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง และต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพตามกฎหมาย เช่น สายงานสถาปัตยกรรม เป็นต้น

  47. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หลักการในการกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นการสั่งสม ประสบการณ์ที่จำเป็น (expertise) สำหรับการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น • ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง กำหนดจากเวลาดำรง ตำแหน่งโดยเฉลี่ยของผู้มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น จึงกำหนดไว้เป็นระยะเวลาขั้นต่ำการ ดำรงตำแหน่งก่อนที่จะเลื่อนหรือย้ายไปดำรง ตำแหน่งที่สูงขึ้น • เปิดโอกาสให้ผู้มีผลการปฏิบัติงานดี ได้ประเมินเพื่อเลื่อนระดับตำแหน่งก่อน(เงินเดือนถึงค่ากลางก่อน)

  48. ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง • เหตุผลการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง: • เพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติงานในระดับที่สูงขึ้น • แนวคิดพื้นฐาน: • การจ้างงานในราชการเป็นการจ้างงานระยะยาว 35-40 ปี • จำเป็นต้องมีการสั่งสมประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบในระดับที่สูงขึ้น • ระยะเวลาต้องพิจารณาจากการรวบชั้นงานเดิมเข้าด้วยกัน ทำให้มีชั้นงานน้อยลง • พิจารณาประกอบกับเงื่อนไขระยะเวลาการดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน • สามารถแยกแยะระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่มีผลงานดีเด่นกับผู้ปฏิบัติงานอื่น • ระยะเวลาดำรงตำแหน่งเป็นเพียงเงื่อนไขส่วนหนึ่งของการแต่งตั้งบุคคล • ให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น • ต้องผสานเข้ากับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะของบุคคล • คำนึงถึงคุณภาพผลงาน ประสิทธิภาพของราชการที่จะได้รับจากการปฏิบัติงานของบุคคล • คำนึงถึงโครงสร้างกำลังคนภาครัฐที่เหมาะสมกับช่วงเวลาหนึ่งๆ

  49. ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง (ต่อ)

  50. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • 1) คุณวุฒิการศึกษา • 2) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง + • ได้รับเงินเดือนถึงค่ากลาง (midpoint) ของระดับก่อนเลื่อน (กรณีเลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น) • 3) คุณสมบัติพิเศษ (ถ้ามี) • ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง องค์ประกอบของมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • หลักการ • ส่วนราชการสามารถกำหนดให้เหมาะสมกับตำแหน่ง ตามแนวทาง (คู่มือ)ที่ ก.พ. กำหนด • ตาม ว27/2552 และ ว7/2553

More Related