1 / 32

ประวัติความเป็นมา

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น กรณีศึกษา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. ประวัติความเป็นมา.

nellis
Download Presentation

ประวัติความเป็นมา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น กรณีศึกษา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

  2. ประวัติความเป็นมา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 เมื่อประมาณ 195 ปีมาแล้ว ชาวบ้านได้อพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี พ.ศ. 2354 มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านหนองปลิงใหญ่ ต่อมาจึงเกิดเหตุการณ์ประหลาดขึ้น คือ เกิดฟ้าผ่าแม่มาร (หญิงตั้งครรภ์) ขึ้น โบราณถือว่าเป็นลางร้าย ชาวบ้านได้เกิดการกลัวจึงอพยพมาตั้งหลักแหล่งใหม่ คือ บ้านดอนหว่าน บ้านหนองหล่ม และบ้านหัวหนอง จึงได้เรียกชื่อบ้านตามที่ตั้งอยู่หัวหนองปลิงใหญ่ว่าบ้านหัวหนองมาจนถึงปัจจุบัน

  3. อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนหว่าน ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองแวงต้อน ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองหล่ม ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านเหล่าหนาด ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

  4. ประชากร จำนวนหลังคาเรือน 157 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 776 คน - เป็นชาย 389 คน - เป็นหญิง 387 คน

  5. การเมืองการปกครอง ผู้ใหญ่บ้าน นายกัณหา ทิพศรีราช ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 นายสงวน จันธิราช ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายประเคน ทะวะ สมาชิก อบต. นายบุญเรือง คงแสนคำ สมาชิก อบต. นายไพรสน ทิพศรีราช กรรมการหมู่บ้าน มี 14 คน

  6. การศึกษา การศึกษาในระดับตามเกณฑ์ มีเด็กไปเรียนที่ศูนย์เด็กเล็กที่โรงเรียนดอน และระดับอนุบาลประถมและมัธยมศึกษาเรียนที่โรงเรียนบ้านดอนหว่านหัวหนอง ซึ่งเป็นโรงเรียนในเขตที่รับบริการของหมู่บ้านหัวหนอง ระยะทางห่างจากโรงเรียนประมาณ 500 เมตร มีหมู่บ้านที่ใช้บริการร่วม 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านดอนหว่าน บ้านหัวหนอง บ้านเหล่าหนาด

  7. โรงเรียนบ้านดอนหว่านหัวหนองโรงเรียนบ้านดอนหว่านหัวหนอง

  8. สถานที่สำคัญ วัดบ้านหัวหนองดอนปู่ตา

  9. องค์การบริหารส่วนตำบลดอนหว่านองค์การบริหารส่วนตำบลดอนหว่าน

  10. ปราชญ์ชาวบ้าน คุณตาไม ทิพศรีราช อยู่บ้านเลขที่ 22 หมู่ที่8 บ้านหัวหนอง ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เป็นหมอสู่ขวัญ หมอน้ำมนต์ หมอแต่งแก้ หมอทำพิธีทางศาสนา ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ เป่าคางทูม

  11. ขนมธรรมเนียมประเพณี บ้านหัวหนอง หมู่ที่8 เป็นเกษตรกรรมทำนาเป็นอาชีพหลักประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีการประกอบพิธีกรรมต่างๆ มากมายทั้งพิธีกรรมความเชื่อในชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาพุทธในรอบปีที่เรียกกันทั่วไปว่า ฮีต 12 มีการจัดงานประเพณีประจำเดือน เดือนอ้าย ทำบุญเข้ากรรม เดือนยี่ ทำบุญคูณลาน เดือนสาม บุญข้าวจี่ เดือนสี่ บุญผะเวส เดือนห้า บุญสงกรานต์

  12. เดือนหก บุญบั้งไฟ เดือนเจ็ด บุญเบิกบ้าน เดือนแปด บุญเข้าพรรษา เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ บุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ด บุญกระฐิน เดือนสิบสอง ลอยกระทง

  13. แหล่งน้ำหมู่บ้านหัวหนอง มี 1 แห่ง คือ หนองปิง

  14. เศรษฐกิจ อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ ทำนาและอาชีพเสริม คือ ทำข้าวเกรียบ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงโค กระบือ ไก่ เป็ด สุกร ซึ่งเลี้ยงเอาไว้ขายเพื่อเป็นรายได้เสริมและเอาไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นบางส่วน

  15. หัวหน้ากลุ่ม : นางทองลา จงเทพ ที่อยู่ : หมู่ที่ 8 บ้านหัวหนอง ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ประวัติและการบริหารจัดการ : เป็นการรวมกลุ่มของแต่ละครัวเรือนผลิตข้าวเกรียบพื้นบ้านเพื่อนำไปจำหน่าย

  16. อาชีพในหมู่บ้านหัวหนองอาชีพในหมู่บ้านหัวหนอง

  17. วัสดุอุปกรณ์ในการทำข้าวเกรียบวัสดุอุปกรณ์ในการทำข้าวเกรียบ เถาว์กะพังโหม

  18. น้ำตาล

  19. ไข่

  20. งา

  21. มะพร้าว

  22. เกลือ

  23. กระเบื้องทับข้าวเกรียบกระเบื้องทับข้าวเกรียบ

  24. พลาสติก

  25. เสื่อ

  26. เครื่องปั่นข้าวเกรียบเครื่องปั่นข้าวเกรียบ

  27. ขั้นตอนการทำข้าวเกรียบพื้นบ้านขั้นตอนการทำข้าวเกรียบพื้นบ้าน นำข้าวสุกที่นึ่งไว้มาลงในเครื่องปั่น

  28. พอเอาข้าวนึ่งลงก็ปั่นแล้วเทน้ำที่แช่เถาว์กะพังโหมเลื่อยๆแล้วนำมะพร้าว น้ำตาล ไข่ งาและใส่เกลือสักนิดเพื่อได้รสชาติจากนั้นก็ปั้น 8-10 นาที

  29. ปั่นได้ที่แล้วนำออกจากเครื่องปั่นเพื่อจะนำไปแปรรูปปั่นได้ที่แล้วนำออกจากเครื่องปั่นเพื่อจะนำไปแปรรูป

  30. จากนั้นนำมาปั้นเป็นก้อนแล้วทับเป็นแผ่นจากนั้นนำมาปั้นเป็นก้อนแล้วทับเป็นแผ่น

  31. แล้วนำมาติดที่เสื่อเพื่อจะนำไปตากแล้วนำมาติดที่เสื่อเพื่อจะนำไปตาก

  32. ข้าวเกรียบพื้นเมือง ( สูตรเถาว์กะพังโหม ) ราคาขายปลีกห่อละ 10 บาท ราคาขายส่ง 3 ห่อ 25 บาท

More Related