1 / 39

Demand, Supply and Equilibrium

Demand, Supply and Equilibrium. อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ. Circular Flow Chart. สินค้าและบริการ. ปัจจัยการผลิต. Households. ค่าปัจจัยการผลิต. ค่าสินค้า. ซื้อ. ขาย. P. S. ตลาดการผลิต. ตลาดปัจจัย. D. Q. ค่าสินค้า. ค่าปัจจัยการผลิต. Businesses. สินค้าและบริการ. ปัจจัยการผลิต. ขาย.

maris-wolfe
Download Presentation

Demand, Supply and Equilibrium

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Demand, Supply and Equilibrium อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  2. Circular Flow Chart สินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิต Households ค่าปัจจัยการผลิต ค่าสินค้า ซื้อ ขาย P S ตลาดการผลิต ตลาดปัจจัย D Q ค่าสินค้า ค่าปัจจัยการผลิต Businesses สินค้าและบริการ ปัจจัยการผลิต ขาย ซื้อ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  3. Demand อุปสงค์ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  4. อุปสงค์ตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อุปสงค์ตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ความต้องการแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ความต้องการแบบชาวบ้าน 2. ความต้องการทางเศรษฐศาสตร์หรืออุปสงค์ (Demand) - อำนาจซื้อ (Purchasing power) - ความเต็มใจที่จะจ่าย (Willingness to pay) - ความสามารถที่จะจ่าย (Ability to pay) • Effective Demand = อุปสงค์ที่มีพร้อมทั้งความต้องการและอำนาจซื้อ • (2) Potential Demand = อุปสงค์ที่ยังไม่สมบูรณ์ คือ มีเพียงความต้องการแต่ขาด อำนาจซื้อ หรือ มีเพียงอำนาจซื้อแต่ยังไม่มีความต้องการเกิดขึ้น หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  5. ตัวกำหนดอุปสงค์ ราคาสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคต้องการ รายได้ของผู้บริโภค ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยมของผู้บริโภค Demand จำนวนประชากร การกระจายรายได้ใน ระบบเศรษฐกิจ ฤดูกาล หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  6. Demand Function กำหนดให้ QdX = ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า X PX= ราคาสินค้า X PY = ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสินค้า X C1 = รสนิยมC2 = ฤดูกาลC3 = จำนวนผู้ซื้อC4= การกระจายรายได้ในระบบเศรษฐกิจ สมการอุปสงค์ที่สมบูรณ์คือ QdX= f (PX, PY , C1 , C2 , C3 , C4) เนื่องจากเราต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างราคา (ตัวแปรอิสระ) กับปริมาณซื้อ (ตัวแปรตาม) เราสมมุติให้ตัวแปรอื่นๆคงที่ ฟังก์ชันอุปสงค์ที่เราสนใจจึงเป็น QdX= f (PX, PY , C1 , C2 , C3 , C4) QdX= f (PX) หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  7. ประเภทของอุปสงค์ อุปสงค์ของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง(Demand) หมายถึงปริมาณต่างๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ซึ่งสามารถสามารถแบ่ง ออกได้เป็นสามประเภทคือ • อุปสงค์ต่อราคา (price demand) • อุปสงค์ต่อรายได้ (income demand) • อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (cross demand) หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  8. Price Demand อุปสงค์ต่อราคา หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  9. Price Demand • อุปสงค์ต่อราคาเป็นอุปสงค์ที่มีความสำคัญและใช้มากที่สุด จึงนิยมเรียกสั้นๆว่า อุปสงค์หรือ Demand ซึ่งหมายถึง “ปริมาณต่างๆของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง” • Law of Demand: *Price effect = income effect + substitution effect 1. ปริมาณความต้องการซื้อของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งแปรผกผันกับราคา ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ (Income effect; P α 1/Q) 2. ยิ่งระยะเวลายาวนานเท่าใด การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าจะมีผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในปริมาณที่ผู้บริโภคต้องการซื้อตามไปด้วย เพราะผู้บริโภคมีโอกาส ในการเลือกซื้อสินค้าอื่นๆทดแทนสินค้าเดิมได้มากขึ้น (Substitution effect) หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  10. ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์ • เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการและตารางของอุปสงค์ (Demand Schedule) ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณและสร้างเป็นเส้นอุปสงค์ (Demand Curve)ได้ในที่สุด • จากสมการ QX = 10-2PXเมื่อราคาเปลี่ยนแปลง ปริมาณซื้อสินค้า X จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามดังนี้ • ถ้าPX= 1, QX= 10-(2 * 1) = 10 – 2 = 8 • ถ้า PX= 2, QX= 10-(2 * 2) = 10 – 4 = 6 • ถ้าPX= 3, QX= 10-(2 * 3) = 10 – 6 = 4 สมการอุปสงค์ (Demand equation) QX = 10-2PX โดยที่ QX = ปริมาณความต้องการซื้อ X PX = ราคาสินค้า X หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  11. ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์ (ต่อ) จากนั้นนำค่าความสัมพันธ์ของตัวแปร QXและ PX แสดงความสัมพันธ์ในรูปขอ ตารางอุปสงค์ดังนี้ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  12. ตารางอุปสงค์และเส้นอุปสงค์ (ต่อ) จากตารางบน slide ที่ 8 เราสามารถนำค่าความสัมพันธ์ในรูปตารางระหว่างราคาสินค้าและ ปริมาณซื้อสินค้า X ณ จุด A, B, C มาเขียนกราฟหรือเส้นอุปสงค์ของสินค้า X ได้ดังนี้ ราคาสินค้า X 4 C 3 B 2 A 1 DX 2 3 4 ปริมาณสินค้า X หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  13. 1. การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ(Change in Quantity Demanded)- การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ เกิดจาก ราคาสินค้าที่เรากำลังพิจารณา เปลี่ยนแปลงแต่เพียงอย่างเดียว (สูงขึ้น หรือลดลง) ในขณะที่ตัวกำหนด อุปสงค์ตัวอื่นๆคงที่ - ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงจะมีผลให้ปริมาณ ซื้อย้ายจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบน เส้นอุปสงค์เส้นเดิมโดยที่เส้นอุปสงค์ไม่ เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ ราคาสินค้า X A 3 B 2 C 1 DX 10 20 30 ปริมาณสินค้า X หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  14. เมื่อรายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์(Change or Shift in Demand)- เกิดจากการที่ตัวกำหนดอุปสงค์อื่นๆ ทีไม่ใช่ราคาสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไป ทั้งที่ระดับราคาสินค้าไม่เปลี่ยน - ผลที่เกิดขึ้นทำให้เส้นอุปสงค์เคลื่อน ย้ายไปจากเดิม ถ้าอุปสงค์เพิ่มขึ้น เส้นอุปสงค์จะเคลื่อนไปทางขวามือ ถ้าอุปสงค์ลดลง เส้นอุปสงค์ก็จะ เคลื่อนไปทางซ้าย การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ P B C 7 D A 6 DX2 DX1 10 11 12 13 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  15. กรณีราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องมีลักษณะใช้ประกอบกันกรณีราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องมีลักษณะใช้ประกอบกัน กรณีราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องโดยใช้ทดแทนกัน การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ P P B A A B 10 10 DX2 DX1 DX1 DX2 30 50 Q 20 40 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  16. Income Demand อุปสงค์ต่อรายได้ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  17. Income Demand อุปสงค์ต่อรายได้ หมายถึง ปริมาณต่างๆของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับรายได้ต่างๆกันของผู้บริโภคในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง income B • อุปสงค์ต่อรายได้กรณีสินค้าปกติ (Normal Good)- ค่าความชันเป็น + คือปริมาณซื้อ สินค้าแปรผันตรงกับรายได้ - สินค้าปกติ เรียกว่า Normal Good 110 A 100 C 90 DX Q 10 20 30 หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  18. Income Demand income 2. อุปสงค์ต่อรายได้กรณีสินค้าด้อย(Inferior Good) - ค่าความชันเป็น – คือ ปริมาณซื้อสินค้แปรผกผัน กับรายได้ - เรียกว่า Inferior good B 100 A 50 DY 6 10 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  19. Cross Demand อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  20. Cross Demand หมายถึง ปริมาณต่างๆของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้าหรือบริการอีกชนิดหนึ่ง ณ ระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่ง ราคาของกาแฟ 1. กรณีสินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary good)- ค่าความชันเป็น – คือปริมาณการซื้อ ครีมแปรผกผันกับราคาของกาแฟ- ถ้าราคากาแฟ ปริมาณของครีม - ตัวอย่างอื่นๆ 20 15 10 Dครีม 10 15 20 ปริมาณของครีม หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  21. Cross Demand ราคาของสบู่ลักซ์ 2. กรณีสินค้าที่ใช้แทนกันได้ (Substitute good)- ค่าความชันเป็น – คือปริมาณของสบู่ นกแก้วแปรผันโดยตรงกับราคาของ สบู่ลักซ์- ถ้าราคาของสบู่ลักซ์ ปริมาณของ สบู่นกแก้ว - ตัวอย่างอื่นๆ Dสบู่นกแก้ว 20 15 12 17 ปริมาณของสบู่นกแก้ว หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  22. Supply อุปทาน หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  23. Supply Theory อุปทานของผู้ผลิตแต่ละราย คือ ปริมาณต่างๆของสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตพร้อมที่จะนำออกขาย ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้าหรือบริการชนิดนั้น ณ ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง Law of Supply P Qs P α Qs P Qs หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  24. ตัวอย่างแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและราคาลำไยตัวอย่างแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและราคาลำไย ราคา Sลำไย A 50 B 30 40 100 ปริมาณ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  25. ตัวกำหนดอุปทาน ราคาสินค้าหรือบริการ จำนวนผู้ขาย ราคาปัจจัยการผลิต อุปทาน ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีในการผลิต เป้าหมายของธุรกิจ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  26. Supply Function กำหนดให้ QsX = ปริมาณผลผลิตสินค้าหรือ “อุปทาน” สินค้า X PX= ราคาสินค้า X PY = ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสินค้า X A1 = เป้าหมายธุรกิจA2 = เทคนิคการผลิตA3 = จำนวนผู้ขายA4 = ราคาปัจจัยการผลิต สมการอุปสงค์ที่สมบูรณ์คือ QsX= f (PX, PY , A1 , A2 , A3 , A4,……) เนื่องจากเราต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างราคา (ตัวแปรอิสระ) กับปริมาณผลผลิต (ตัวแปรตาม) เราสมมุติให้ตัวแปรอื่นๆคงที่ ฟังก์ชันอุปสงค์ที่เราสนใจจึงเป็น QsX = f (PX, PY , A1 , A2 , A3 , A4,……) QsX = f (PX) หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  27. Change in Quantity Supplied and Change in Supply ราคา การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย(Change in Quantity Supplied) - เกิดจากการกำหนดให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่ แต่ราคาเปลี่ยนแปลง- ปริมาณขายเปลี่ยนจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่งบนเส้นอุปทานเดิม Sลำไย B 70 A 50 C 30 ปริมาณขาย 100 150 200 หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  28. Change in Quantity Supplied and Change in Supply P การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน(Change or shift in Supply)- ถ้ากำหนดให้ราคาคงที่ โดยให้ ตัวกำหนดอุปทานตัวอื่นๆตัวใด ตัวหนึ่งหรือหลายตัวเปลี่ยน- หากอุปทานเพิ่มขึ้น เส้น อุปทานจะเคลื่อนไปทางขวา- หากอุปทานลด เส้นอุปทาน จะเคลื่อนไปทางซ้าย S1 S S2 P Q1 Q2 Q3 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  29. Market Equilibrium ดุลยภาพของตลาด หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  30. ดุลยภาพ - ที่จุด E ปริมาณซื้อ (D)= ปริมาณขาย (S)- ราคาซื้อขายที่ดุลยภาพ เรียกว่า ราคาดุลยภาพ- ปริมาณซื้อขายที่ดุลยภาพ เรียกว่า ปริมาณดุลยภาพ P S P2 - เมื่อปริมาณขาย (S)> ปริมาณซื้อ (D) สินค้าที่ ต้องการซื้อ จะเกิดสินค้าเหลือเท่ากับ Q3-Q2หรือเส้นตรง ABเรียกว่า อุปทานส่วนเกิน(Excess supply: Surplus) A B P0 E G H P1 - เมื่อปริมาณขาย (S)< ปริมาณซื้อ (D) สินค้าที่ ต้องการซื้อ จะเกิดสินค้าไม่เพียงพอเท่ากับ Q4- Q1หรือเส้นตรง GHเรียกว่า อุปสงค์ส่วนเกิน(Excess demand: Shortage) D Q1 Q2 Q0 Q3 Q4 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  31. การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ 1. เส้นอุปสงค์เปลี่ยนโดยเส้นอุปทานคงที่2. เส้นอุปทานเปลี่ยนโดยเส้นอุปสงค์คงที่3. ทั้งเส้นอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลง ตัวกำหนดดุลยภาพ คือ เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทาน หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  32. Consumer and Producer Surpluses Consumer Surplus (CS)หรือ ส่วนเกินของผู้บริโภค หมายถึง ส่วน ของจำนวนเงินที่ผู้บริโภคยินดีจ่ายเพื่อซื้อ สินค้าจำนวนหนึ่งๆที่เกินกว่าจำนวนเงินที่ ผู้บริโภคได้จ่ายออกไปจริงในการซื้อสินค้า จำนวนนั้นๆ CS+PS = Social Surplus (SS) P S CS E P0 Producer Surplus (PS)หรือ ส่วนเกินของผู้ผลิต หมายถึง ส่วน ของจำนวนเงินที่ผู้ผลิตได้รับจริงจากการ ขายสินค้าจำนวนหนึ่งๆที่เกินกว่าจำนวน เงินที่ผู้ผลิตสามารถยอมรับได้สำหรับการ ขายสินค้าจำนวนนั้นๆ PS D Q0 Q หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  33. โจทย์ปัญหา • อุปสงค์ต่อกาแฟมอคโคนาสามารถเขียนเป็นสมการได้คือ QD = 2P + 15 ส่วนสมการอุปทานเขียนได้เป็น QS =3P + 1 จงหา1.1 P0 และ Q0 1.2 ราคาสูงสุดที่เขาสามารถกำหนดได้ ถ้าผู้ผลิตต้องการขายกาแฟมอคโคนา 30 หน่วย1.3 จงคำนวณหา Consumer surplus และ Producer surplus 2. ถ้าฟังก์ชันอุปสงค์และอุปทานของตลาดต่อสินค้า A เขียนได้ว่า QD = 1,200 – 200P และ QS = 200P จงหา2.1 P0 และ Q02.2 Social Surplus 2.3 ถ้าราคาของสินค้า A เป็น 5 บาทต่อหน่วย จะเกิดอะไรขึ้นกับตลาด หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  34. Government Policy นโยบายรัฐบาล หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  35. การเก็บภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) เป็นการเก็บภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บต่อหน่วยของสินค้าที่มีการซื้อขาย โดยทุกหน่วยของสินค้าจะเสียภาษีเท่ากันหมด P P S2 With Tax S1 S1 No Tax CS CS T P* Deadweight loss P0 PS PS D D Q Q Q0 Q* หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  36. การเก็บภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) • ถ้ารัฐบาลเรียกเก็บภาษีต่อหน่วยจากผู้ขาย ในราคาขวดละ T บาทเท่ากันทุกขวดจะทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น (โดยสูงขึ้นเท่ากับจำนวนภาษีที่เก็บ) เป็นผลให้เส้นอุปทานของสินค้าเปลี่ยนจาก S1 เป็น S2โดยขนานกับเส้นเดิม • Deadweight loss หมายถึง ความสูญเสียจากการดำเนินนโยบายหนึ่งๆของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล หรือรัฐบาลที่ตกกับสังคมในรูปผลประโยชน์ที่ลดต่ำลงจากจำนวนผลประโยชน์ทั้งหมดที่สังคมเคยได้รับ หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  37. ตัวอย่างการเก็บภาษีต่อหน่วยตัวอย่างการเก็บภาษีต่อหน่วย ถ้าฟังก์ชันอุปสงค์และอุปทานของตลาดต่อสินค้า A เขียนได้ว่า QD = 1,200 – 200P และ QS = 200P 1. จงหา P0และ Q0 2. หากรัฐบาลตัดสินใจเก็บภาษีกับผู้ผลิตเป็นจำนวนเงิน 200 บาทต่อหน่วย จงคำนวณหา ส่วนเกินผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปและ Deadweight loss P P S1 S S 6 6 CS CS T=200 PS 3 PS DWL 2 D D Q Q 600 1200 1200 หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  38. การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support) P • เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่ใช้ในการแทรกแซงการทำงานของกลไกราคา • ส่วนใหญ่ใช้ประกันราคาขั้นต่ำกับผลผลิตทางการเกษตร • อุปทานของผลผลิตทางการเกษตรควบคุมยาก เพราะส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ S S A B P1 P0 • ราคาประกันขั้นต่ำคือ P1ปริมาณ ต้องการเป็น Q1 ปริมาณขายเป็น Q2อุปทานส่วนเกินคือ AB • รัฐบาลต้องเข้ามาซื้ออุปทานส่วนเกิน ของผลผลิตทั้งหมดเป็นจำนวนเงิน ABQ1Q2 E D Q Q1 Q0 Q2 หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

  39. การกำหนดราคาขั้นสูงหรือการควบคุมราคา (Price Ceiling) P • เป็นมาตรการในการแทรกแซงการทำงานของกลไกราคาซึ่งมักจะใช้ในยามที่เกิดภาวะขาดแคลนสินค้าอย่างมาก • สินค้าส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าจำเป็นต่อการดำรงชีวิต ราคานี้ต่ำเกินไป ผู้ขายจะนำเอาสินค้าไปขายในตลาดมืด S • ราคา P0สูงเกินไปจนผู้บริโภคเดือดร้อน รัฐบาลเข้ามาแทรกแซงโดยกำหนดราคา ขั้นสูงเป็น P1ซึ่งจะทำให้เกิดอุปสงค์ ส่วนเกิน AB • รัฐบาลควรจะป้องกันปัญหานี้โดยใช้ วิธีการปันส่วนโดยจ่ายคูปอง (Coupon) เพื่อซื้อสินค้านั้นๆ แม้จะมีเงินซื้อมาก เท่าใดก็ตาม P0 E A B P1 D Q Q1 Q0 Q2 หลักเศรษฐศาสตร์ Lecture 2

More Related