1 / 65

Vitamins

Vitamins. วิตามินที่ละลายในไขมัน.  ไม่ละลายน้ำ  คงทน ไม่เสียง่าย  สะสมที่ตับ ขับถ่ายน้อยทางอุจจาระ  ถ้ามีมากเกินความต้องการ อาจแพ้ได้. วิตามินเอ.  Retinol & ester พบใน :- เนื้อ ไข่ ตับ เครื่องใน น้ำมันตับปลา  Beta-carotene (provitamin) พบใน :- พืชสีเขียว เหลือง ส้ม

magar
Download Presentation

Vitamins

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Vitamins

  2. วิตามินที่ละลายในไขมันวิตามินที่ละลายในไขมัน ไม่ละลายน้ำ  คงทน ไม่เสียง่าย  สะสมที่ตับ ขับถ่ายน้อยทางอุจจาระ  ถ้ามีมากเกินความต้องการ อาจแพ้ได้

  3. วิตามินเอ  Retinol & ester พบใน :- เนื้อ ไข่ ตับ เครื่องใน น้ำมันตับปลา  Beta-carotene (provitamin) พบใน :- พืชสีเขียว เหลือง ส้ม - ผัก ผลไม้ - มะละกอสุก ฟักทอง แครอท มะเขือเทศ - น้ำมันพืช มะเขือเทศ

  4. วิตามินเอ Retinyl ester Retinol (vitamin A) absorption

  5. วิตามินเอ Beta-carotene Carotenase ( จากผนังลำไส้และจากตับ) Retinol (vitamin A) absorption

  6. วิตามินเอ  ผลต่อการดูดซึม - mineral oilลดการดูดซึม - vitamin Eเพิ่มการดูดซึม  การสะสม - อยู่ในรูป retinyl ester ตับ 95% ไต ปอด เนื้อเยื่อไขมัน ** RBP = Retinol binding protein**

  7. วิตามินเอ  ความต้องการของร่างกาย - 2,500 unit / day - เด็ก : 1000 unit/day  1 International unit = - retinol 0.3 microgram - retinyl acetate 0.344 microgram - Beta-carotene 0.6 microgram

  8. วิตามินเอ  บทบาทหน้าที่ - การมองเห็น:- rhodopsin = retinol + opsin (protein) - การพัฒนาการของทารก • ถ้าได้รับมาก/น้อยเกินไปอวัยวะของศีรษะ แขน ขา เกิดพิการได้ - การเปลี่ยนสภาพของเซลล์ (cell differentiation) • ถ้าได้รับน้อย เกิด keratinized cellsแทน ทำให้แห้ง แตก ติดเชื้อได้ง่าย

  9. วิตามินเอ  พิษ • ถ้ารับมากกว่า 50,000 unit/day ติดต่อกันนานๆ • แพ้(hypervitaminosis A) - เบื่ออาหาร กระวนกระวาย - ผิวหนังแห้ง ผมร่วง - ปวดศีรษะ ปวดกระดูก ข้อเปราะ - ตับม้ามโต

  10. วิตามินเอ  การขาดเกิดจาก :- - ได้รับน้อย ขาดโปรตีน (เลี้ยงด้วยหางนม) - มีสะสมในตับน้อย

  11. วิตามินเอ  ปัญหาจากการขาด • Night blindness • Keratinized skin (Toad skin)แห้ง หยาบ เป็นเกล็ด • เยื่อบุเสื่อมโทรม เหี่ยว แข็ง**ตา** - photophobia(คัน แสบ ร้อน แห้ง ขาดน้ำตา) - xerophthalmia(ตาดำแห้ง อักเสบ บวม ขุ่น ติดเชื้อ) - keratomalacia(ตาดำนุ่ม … บอด)

  12. วิตามินเอ การป้องกันการขาด • รับประทาน100,000 unit - ให้เด็กก่อนวัยเรียน คุ้มกันได้ 1 ปี • ใช้ภายนอก - รูปขี้ผึ้ง-ครีม 1000-5000 unit/gram มี salicylic acid ช่วยการซึมผ่านหนังกำพร้า - โรคผิวหนังตกสะเก็ด - โรคผิวหนังจากการแพ้ เล็บเปราะ

  13. วิตามินดี  พบใน :- • ไข่แดง ตับ ปลาบางชนิด นมเติมวิตามินดี  Ergocalciferol (vit D2) • ergosterol = provitamin D (พืช) มีแสงแดดจะเปลี่ยนเป็น vit D2  Cholecalciferol (vit D3) • 7-dehydrocholecalciferol = provitamin D (สัตว์) มีแสงแดดจะเปลี่ยนเป็น vit D3

  14. วิตามินดี  การสะสม - ตับ - มีบ้างใน ผิวหนัง ปอด สมอง ม้าม กระดูก

  15. วิตามินดี  บทบาทหน้าที่ • ควบคุมระดับ calcium และ phosphorus - การดูดซึม - การละลายจากกระดูก - การดูดกลับทางไต • ส่งเสริมการสร้างหนังกำพร้า (epidermis) • กระตุ้นการสร้างสีผิว (ทาภายนอก) - เรื้อนกวาง - โรคผิวหนังเรื้อรัง

  16. การขาดวิตามินดี  Ricket • ขม่อมปิดช้า กะโหลกนุ่ม หน้าผากนูน ศีรษะแบน เหมือนหีบ • กระดูกอ่อนเปราะ ขา-อกไก่-กระดูกสันหลังโค้ง เชิงกรานแคบ • ข้อใหญ่ กล้ามเนื้อไม่มีแรง พุงป่อง • กระวนกระวาย

  17. การขาดวิตามินดี  Dental caries • ฟันผุ ขึ้นผิดรูปร่าง ขึ้นช้า • ป้องกันโดยให้อาหารที่มี Ca, P, Vit. D พอเพียง

  18. การขาดวิตามินดี  Osteomalacia - พบมากในหญิงมีครรภ์ ลูกอ่อน - เกิดจาก• บกพร่องในการเติม Ca เข้ากระดูก • การดูดซึมไขมันบกพร่อง • - อาการ • กระดูกไม่แข็งแกร่ง อาจโค้งงอ • ปวดกระดูกขาและหลังส่วนล่าง • อ่อนเพลีย เดินลำบาก โซเซเมื่อขึ้นบันได • กระดูกหักง่าย

  19. การขาดวิตามินดี  Tetany - เกิดจากการเผาผลาญ Ca และ P บกพร่อง - ได้รับ Ca และ Vit D น้อยไป - ต่อมพาราไทรอยด์ผิดปกติ - การรักษา ให้อาหารที่มี Ca + Vit D ให้เกลือ Ca

  20. วิตามินอี(Tocopherol)  พบมากใน- พืชให้น้ำมัน - ผักใบเขียวจัด - ถั่ว ไข่แดง ตับ นมมารดา ** นมวัวและเนื้อสัตว์ มีน้อยมาก **

  21. วิตามินอี “antisterility vitamin” หน้าที่ :- ป้องกันไขมันไม่อิ่มตัว (antioxidant) • linoleic acid ถูกเติมออกซิเจน เกิด hemolytic anemia - ป้องกันวิตามินเอ และแคโรทีน - ป้องกันการแตกสลายของเซลล์ - ป้องกันการเกิดมะเร็ง - ช่วยในการพัฒนาของเซลล์ประสาท

  22. วิตามินอี ความต้องการ : 10-30 มิลลิกรัม / วัน : รูปที่ใช้ได้ คือ alpha tocopherol  พิษ: ขนาด 800 unit/day ยังไม่พบพิษ * 1 unit เทียบเท่ากับ 1mg dl-alpha tocopherol acetate *

  23. วิตามินอี การขาด • เม็ดเลือดแดงแตกง่าย (hemolytic anemia) • ในสัตว์กินหญ้า• กล้ามเนื้อแฟบ • การสืบพันธุ์บกพร่อง • เม็ดเลือดแดงอายุสั้น • โลหิตจางชนิดเม็ดเลือดใหญ่

  24. วิตามินเค(Menadione derivatives)  แหล่ง - ผักใบเขียว เมล็ดธัญพืช ราก-หัวมัน - ตับหมู มีมากที่สุด - มีน้อยในไข่ นม ผลไม้ - จากแบคทีเรียในลำไส้  รูปแบบ- vit K1 phylloquinone (พืช) - vit K2 menaquinone (Bacteroids) ** พบน้อยในอาหาร **

  25. วิตามินเค หน้าที่ :- ช่วยในการแข็งตัวของเลือด การขาด :- เลือดไหลไม่หยุด** อาจเกิดจาก ** - ขาดวิตามินเค (บกพร่องจากการดูดซึมหรือจากการสังเคราะห์) - การสร้าง prothrombin ที่ตับบกพร่อง ทารกมีปัญหา / คาดว่ามี - ให้วิตามินเค 1-2 mg ทันทีหลังคลอด - หรือให้ 2-5 mg กับแม่ก่อนคลอด

  26. วิตามินที่ละลายน้ำ  บี1 (Thiamin)  บี2 (Riboflavin)  บี3 (Niacin)  บี6 (Pyridoxine)  บี12 (Cobalamin) Folic acid , folate  Biotin  Pantothenic acid  Vitamin C

  27. Minerals  Macroelements • 0.3-1.0 g/day • Na K Mg Ca P Cl S  Microelements(Trace elements) • 0.1-15 mg/day • Fe Zn Cu Cr Co Mn F Mo Si I Se

  28. วิตามินบี 1 (Thiamine)  พบใน • เนื้อสัตว์ : ตับ หัวใจ ไข่ เนื้อหมู • ถั่วเหลือง รำข้าว ข้าวซ้อมมือ จมูกข้าว ยีสต์ • ผักใบเขียว มะม่วงหิมพานต์

  29. วิตามินบี 1  การขาด • เหน็บชา (beri-beri) • เรื้อรัง จะซึมเศร้า ความจำเสื่อม ชีพจรเต้นเร็ว • ถ้ารุนแรง จะท้องผูก เบื่ออาหาร

  30. วิตามินบี1  สาเหตุการขาด • ได้น้อยจากอาหาร • ได้รับสารทำลาย B1 • thiaminase ในปลาน้ำจืด • tannic acid ในหมาก ใบชา และผักพื้นบ้าน

  31. วิตามินบี 2 (Riboflavin) • มีมากใน*นม* เครื่องในสัตว์ • มีบ้างในเนื้อสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว • ค่อนข้างทนความร้อน ถูกทำลายด้วยแสงแดด ความต้องการ • วันละ 0.55 mg / 1000 แคลอรี่

  32. วิตามินบี 2 หน้าที่ - เกี่ยวกับ metabolism ของ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน - ช่วยรักษาสภาพเยื่อบุผิว เยื่อเมือก

  33. วิตามินบี 2  การขาด • ปากนกกระจอก • แผลมุมปาก ลิ้นแตก ริมฝีปากแตก • ระคายเคืองตา มองไม่ชัด ไม่กล้าสู้แดด • มีคราบไขมันที่ซอกจมูก - คอ - หู - อัณฑะ

  34. วิตามินบี3 (Niacin) Niacin = nicotinic acid + nicotinamide  พบมากในเนื้อสัตว์ทุกชนิด ปลา  ในธัญพืช รวมกับสารอื่น (ฉะนั้น ดูดซึมไม่ได้)  ในร่างการสังเคราะห์ได้จาก Tryptophan (มีน้อยในธัญพืช)

  35. วิตามินบี3  ความต้องการ 6.6 mgniacin equivalent / 1000 แคลอรี่ 1 niacin equivalent= niacin 1 g หรือ = tryptophan 60 mg

  36. การขาดวิตามินบี3 (Niacin)

  37. วิตามิน B6Pyridoxine Pyridoxal Pyridoxamine  ต้นกำเนิดของโคเอนไซม์ - Pyridoxal phosphat (PP) เกี่ยวข้องกับ amino acid metabolism และการสังเคราะห์ heme  พบมากในเนื้อสัตว์ ถั่ว ผลไม้ (กล้วย)

  38. วิตามิน B12  ได้จากอาหารที่ได้จากสัตว์ - ตับ ไต - นม เนยแข็ง เนื้อสัตว์ ปลา - อาหารหมักดอง กะปิ น้ำปลาเต้าเจี้ยว  ในพืชไม่มี เว้นแต่หมักดอง  ในลำใส้ใหญ่ จากบักเตรี

  39. วิตามิน B12  ประโยชน์ : เกี่ยวกับการสร้างกรดโฟลิค  ถ้าขาด:pernicious anemia - ระบบประสาทผิดปกติ ร่วมกับ - การสังเคราะห์เม็ดเลือดแดงผิดปกติ

  40. วิตามิน B12  การขาด - เกิดจากขาด intrinsic factor ที่ช่วยในกาดูดซึม B12  ความต้องการ - วันละ 5 ไมโครกรัม (จากลำไส้)

  41. วิตามิน C (Ascorbic acid)  สะสมที่ต่อมหมวกไต ต่อมใต้สมอง ตับอ่อน ม้าม ไต  ที่เหลือ ขับทางปัสสาวะ

  42. วิตามิน C  เป็น freshfoodvitamin ถูกทำลายง่ายด้วย ความร้อน แสง ด่าง ชะล้าง  นมมารดา มี Vit C > นมโค 4-6 เท่า

  43. วิตามิน C  ปริมาณแนะนำ วันละ 30 mg • หญิงมีครรภ์-ให้นมบุตร 50 mg/day • ทารก 1เดือน-9 ปี 20 mg/day  น้ำส้มคั้น 1 ถ้วย (250 ml) • มี Vitamin C ประมาณ 120 mg  ทารกได้จากนมมารดา 5 mg/day • ควรเพิ่มน้ำส้มคั้นวันละ 15-30

  44. วิตามิน C  การขาด : Scurvy • infantile scurvy • ซีด ขาบวม แตะเจ็บ น้ำหนักลด • ท้องร่วง อาเจียน • เมื่อฟันโผล่ เหงือกบวมนุ่ม และเลือดออก

  45. วิตามิน C  การขาด : Scurvy • ผู้ใหญ่ • เหงือกบวม ติดเชื้อ เลือดออก อักเสบ • กล้ามเนื้อ-กระดูกอ่อน ทรุดโทรม • โลหิตจางมีจุดเลือดออก • ฟันอาจโยก และหลุด • เจ็บขาเมื่อจับต้อง

  46. Selenium  แหล่งที่พบ- ในเนื้อสัตว์ อาหารทะเล - ในพืช ขึ้นอยู่กับดินที่ปลูก  หน้าที่ : ป้องกันการทำลายเซลล์

  47. Selenium  ถ้าขาด - มีปัญหาโรคหัวใจ มะเร็ง  ถ้าเกิน - ผมร่วง เล็บหลุด - ผิวหนังและฟันถูกทำลาย - มีปัญหาต่อระบบประสาท

  48. Iodine  เป็นส่วนประกอบของ Thyroid hormone  ถ้าขาด • toxic goiter ( Thyroid โต ) • cretinism (เอ๋อ) • กล้ามเนื้อไม่มีแรง ผิวแห้ง • ลิ้นใหญ่ ปากหนา เตี้ย ปัญญาอ่อน  ถ้าเกิน • thyroid โต เช่นกัน

More Related