1 / 21

หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

การเทียบโอน ผลการเรียน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. การเทียบโอนผลการเรียน. การนำผลการเรียน ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยมาประเมิน ให้เป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียน ตามหลักสูตร. การ

lee
Download Presentation

หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเทียบโอน ผลการเรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

  2. การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน การนำผลการเรียน ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยมาประเมิน ให้เป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียน ตามหลักสูตร การ เทียบโอน ผล การเรียน หมายถึง 3

  3. หลักเกณฑ์การเทียบโอน ผลการเรียน 1. ทุกภาคเรียน 2. โดยคณะกรรมการเทียบโอน 3. เป็นรายวิชา 4. ไม่เกิน 75 %ของจำนวน หน่วยกิตทั้งหมดในระดับ 5. เนื้อหาวิชาต้องสอดคล้องกันไม่น้อยกว่า 60%

  4. หลักเกณฑ์การเทียบโอน ผลการเรียน 6. อายุของผลการเรียนนำมาเทียบโอน -หลักสูตรที่จัดเป็นระดับไม่กำหนดอายุ -หลักสูตรต่อเนื่องให้คณะกรรมการพิจารณา • 7. การให้ค่าระดับผลการเทียบโอนผล • ผลที่เป็นรายวิชา/หมวดวิชา ค่าระดับตามผลการเรียนที่ขอโอน • -การศึกษาต่อเนื่อง ให้เป็น ผ่าน • -หลักสูตรต่างประเทศ ให้เป็น ผ่าน • -กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ให้เป็น ผ่าน • -หลักสูตรต่างประเทศ ให้เป็น ผ่าน 8. สถานศึกษาเป็นผู้อนุมัติผลการเทียบโอน

  5. ประถม ม.ต้น ม.ปลาย จำนวนหน่วยกิตที่ให้ เทียบโอน ไม่เกิน 36 นก. ไม่เกิน 42 นก. ไม่เกิน 57 นก. เรียนไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน

  6. คุณสมบัติผู้ขอเทียบโอนคุณสมบัติผู้ขอเทียบโอน ผลการเรียน 1 2 ต้องขึ้นทะเบียน เป็นนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ต้องไม่เป็นนักเรียนหรือนักศึกษาในสถานศึกษาอื่นใด 9

  7. วิธีการเทียบโอนผลการเรียน วิธีที่ 1 พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา มี 2 วิธี วิธีที่ 2 พิจารณาจาก การประเมินความรู้และ ประสบการณ์ 10

  8. ขอบข่าย 11

  9. 1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ ผู้ที่จบระดับประถมศึกษาปีที่ 4 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (ในระบบ) หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) หลักสูตรอื่น ๆที่กระทรวงประกาศใช้

  10. 1.1 ผู้ที่จบระดับประถมศึกษาปีที่ 4 เทียบโอนได้ 24 หน่วยกิต 1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ 13 13

  11. 14

  12. การเทียบโอนจากหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องการเทียบโอนจากหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 1. การจัดหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 2. การเข้าค่ายของศูนย์วิทย์ 3. การจัดฐานการเรียนของศูนย์วิทย์ 4. หลักสูตรการศึกษาหรือฝึกอบรมของรัฐ เอกชน 15

  13. 1. หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้จัด หลักสูตรของเอกชน ต้องผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการเทียบโอน 2. พิจารณาความสอดคล้องกับสาระในรายวิชาที่จะเทียบโอนให้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 หลักเกณฑ์การเทียบโอน 16

  14. 3. มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลที่ชัดเจน เชื่อถือได้ นับจำนวนชั่วโมงของหลักสูตร แล้วเทียบเป็นหน่วยกิต 40 ชม. = 1 นก. หลักเกณฑ์การเทียบโอน 17

  15. 5. หลักฐานที่นำมาเทียบโอนควรผ่านการเรียนรู้มาแล้วไม่เกิน 5 นับถึงวันยื่น หรืออยู่ในดุลพินิจกรรมการ และให้เทียบได้ระดับใดระดับหนึ่งเท่านั้น 6. ครู/เจ้าหน้าที่ ศกร.สัมภาษณ์ประกอบ 7. ให้ระดับผลการเทียบโอนเป็น “ผ่าน” หลักเกณฑ์การเทียบโอน 18

  16. การเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่างประเทศการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่างประเทศ 19

  17. ลักษณะของการจัดการศึกษาลักษณะของการจัดการศึกษา 20

  18. หลักเกณฑ์ 21

  19. หลักเกณฑ์ 22

  20. การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • ทหารกองประจำการ ทหารประจำการ อาสาสมัครทหารพราน (เคยเป็น) 2. ผู้นำศาสนา/ผู้สอนอิสลามศึกษา และผู้เรียนอิสลามศึกษา 3. ผู้มีอาชีพมั่นคง

  21. ขั้นตอนการเทียบโอน ผู้เรียน เจ้าหน้าที่แนะแนวแนะนำการเรียนตลอดหลักสูตร ลงทะเบียนเรียน ลงทะเบียนเทียบโอน เจ้าหน้าที่ ศกร.กศน. สอบถาม/ตรวจสอบหลักฐานเบื้องต้น ศกร.กศน.ส่งหลักฐานให้ ศกพ.ดำเนินการเทียบโอน ศกพ.แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณารับเทียบโอน ศกพ. อนุมัติผลการเทียบโอน ไม่ผ่าน ผ่าน ศกพ.บันทึกผลการเทียบโอนในหลักฐานงานทะเบียน พร้อมแจ้ง ศกร.กศน.

More Related