1 / 12

รายงานความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ประจำปี 2552 ( ไตรมาส 3)

รายงานความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ประจำปี 2552 ( ไตรมาส 3). Risk Map องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ปี 2552. เพิ่มรายได้. ลดค่าใช้จ่าย. สภาพคล่องทางการเงิน. สร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้าและสังคม. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ.

Download Presentation

รายงานความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ประจำปี 2552 ( ไตรมาส 3)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร ประจำปี 2552(ไตรมาส 3)

  2. Risk Map องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ปี 2552 เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย สภาพคล่องทางการเงิน สร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้าและสังคม พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรและหน่วยงาน F O S C ไม่สามารถขายสินค้าได้ตามเป้าหมาย ต้นทุนการดำเนินงานสูงกว่าเป้าหมาย ขาดสภาพคล่องทางการเงิน สาธารณะชนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อองค์กร ผลิตภาพการผลิตต่ำ ขาดรูปแบบของแนวทางการผลิตอุตสาหกรรมไม้ที่เหมาะสม ขาดแผนงานดำเนินธุรกิจท่องเที่ยว/คชบาลฯ ที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยังไม่ตอบสนองการใช้งานในเชิงธุรกิจ การหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจและการลงทุน ขาดการวางระบบที่ชัดเจนในเรื่อง Hardwar & Software และฐานข้อมูลต่างๆ มีข่าวเชิงลบในการทำไม้ออกจากสวนป่า หรือการร้องเรียนในการดำเนินกิจกรรม การจัดการปลูกสร้างสวนป่าไม่ประณีต เนื่องจากไม่มีแผนงาน การบริหารจัดการวัตถุดิบ และบุคลากรขาดประสิทธิภาพ การบริหารจัดการบุคลากรขาดประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงของนโยบายกฎระเบียบ ของรัฐไม่เอื้อต่อการดำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการการขายขาดประสิทธิภาพ การบริหารจัดการบุคลากรขาดประสิทธิภาพ ไม่สามารถขายล่วงหน้ารายใหญ่ ระยะยาวเพื่อการปลูกป่าได้ ส.วส., ทุกหน่วยงาน ส.ธต., ส.คช., สำนักส่งเสริมฯ ส.นผ., ทุกหน่วยงาน ส.บง. ส.กส. ส.นผ., สำนักส่งเสริมฯ ส.นผ., ส.อก., ส.ศน., ส.ศล., ส.ศอ., ส.ศก. ส.ศน., ส.คช., ส.ศล., ส.ศก.,ส.นผ. ส.วส., ส.กม.

  3. การบริหารความเสี่ยงองค์กร ประจำปี 2552 (ไตรมาส 3) การเงินFการบริหารสภาพคล่องให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสถานการณ์ (8:4:1)  Fการปรับปรุงประสิทธิภาพการขาย (20:8: 1) Fการควบคุมต้นทุนการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย (16:8:1) การดำเนินงานO การประชาสัมพันธ์เชิงรุก (16:6:3)   กลยุทธ์S การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับธุรกิจหลัก  (20:6:15) S การปรับปรุงพัฒนาสวนป่าเศรษฐกิจขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้  (25:9:6) S การปรับปรุงพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไม้ (20:16:20) Sการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการธุรกิจบริการท่องเที่ยวและคชบาลฯ (20:6:1)  กฎระเบียบC การปรับปรุงกฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจองค์กร(12:8:3)  =ดำเนินตามกิจกรรมควบคุมได้ทุกกิจกรรม (_:_:_) = ระดับความเสี่ยง (เดิม : แผน : ผล) =บริหารความเสี่ยงได้เป็นไปตามเป้าหมาย

  4. แผนงานที่ 1 บริหารสภาพคล่องให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสถานการณ์(ความเสี่ยง : ขาดสภาพคล่องทางการเงิน) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : เงินสดหมุนเวียนเพียงพอทุกเดือนไม่ต่ำกว่า 70 ล้านบาท * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ :- 10 % * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับปานกลาง 8 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับต่ำ 4 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ลดลงมาอยู่ที่ระดับต่ำ 1(ไตรมาส 2 = 4) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. ติดตามกระแสเงินสดทุก 10 วัน เป็นรายเดือนเสนอผู้บริหาร 2. ประเมินผลปรับปรุงกระแสเงินสดรายเดือนล่วงหน้า 3 เดือน  3. เร่งรัดการขายล่วงหน้ารายใหญ่ระยะยาวเพื่อการลงทุน  4. ประชุมผู้เกี่ยวข้องประเมินสถานการณ์ทางการเงินเมื่อมีแนวโน้มจะเกิดปัญหา  เงินสดปลายงวดเดือนกันยายน 2552 คงเหลือ 320.28 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด

  5. แผนงานที่ 2 การปรับปรุงประสิทธิภาพการขาย(ความเสี่ยง: ไม่สามารถขายสินค้าได้ตามเป้าหมาย) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ :มีรายได้เป็นไปตามเป้าหมาย * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : - 5% * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 20 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 8 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : อยู่ที่ระดับต่ำ 1 (ไตรมาส 2 = 1) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. ปรับปรุงวิธีการขายและบริการให้เหมาะสมกับสถานการณ์  2. ติดตามประเมินผลและสรุปปรับปรุงวิธีการขายที่เหมาะสมเสนอผู้บริหาร  รายได้ขายไตรมาส 3 ปี 2552 = 989.53 ล้านบาท เป้าหมาย 837.81 ล้านบาท รายได้ขายสูงกว่าเป้าหมาย 151.72 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.11

  6. แผนงานที่ 3 การควบคุมต้นทุนการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย(ความเสี่ยง : ต้นทุนการดำเนินงานสูงกว่าเป้าหมาย) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : มีค่าใช้จ่ายลดลงร้อยละ 2 จากแผน * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ลดไม่ได้ หรือ 0 * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 16 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 8 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ลดลงมาอยู่ที่ระดับต่ำ 1 (ไตรมาส 2 = 4) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. กำหนดเป้าหมายค่าใช้จ่ายที่จะปรับลดหรือควบคุม/วิธีการ  2. ติดตามประเมินผลและสรุปผลเสนอผู้บริหาร  ค่าใช้จ่ายไตรมาส 3 ปี 2552 = 853.83 ล้านบาท เป้าหมาย 908.20 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าเป้าหมาย = 54.37 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.99

  7. แผนงานที่ 4 ประชาสัมพันธ์เชิงรุก(ความเสี่ยง : สาธารณะชนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อองค์กร) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ :มีข่าวเชิงลบหรือการเรียกร้องในการดำเนินกิจกรรมขององค์กร น้อยกว่าปี 2551 * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : มีข่าวดีเพิ่มมากขึ้น / ข่าวไม่ดีลดลง * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 16 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 6 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : อยู่ที่ระดับต่ำ 3 (ไตรมาส 2 = 3) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. เร่งรัดการประชาสัมพันธ์เชิงรุก / ปรับบทบาท / สร้างภาพลักษณ์  2. ติดตามและวิเคราะห์ผล / ทบทวน เสนอผู้บริหาร  สถิติการเสนอข่าวสะสม 9 เดือน เป็นข่าวเชิงบวก 173 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 94.54 เป็นข่าวเชิงลบ 10 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 5.46 : ข่าวเชิงบวกลดลง ข่าวเชิงลบเพิ่มขึ้น

  8. แผนงานที่ 5การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับธุรกิจ(ความเสี่ยง : ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยังไม่ตอบสนองการใช้งานเชิงธุรกิจ) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ปรับปรุง Hardware & Software Package และเครือข่ายตลอดจนฐานข้อมูลต่างๆ ให้แล้วเสร็จร้อยละ 60 ของแผนงาน * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ไม่มี * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 20 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 6 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ยังคงอยู่ที่ระดับสูง 15 (ไตรมาส 2 = 20) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. รวบรวมและจัดทำแผนข้อมูลด้านต่าง ๆ และพัฒนา Software Package ให้เป็นไป ตามที่ต้องการ  2. ติดตามประเมินผลสรุปเสนอผู้บริหาร  แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ อ.อ.ป. แล้ว จัดทำ Software Package ใช้กับระบบงานบุคคลได้ร้อยละ 60

  9. แผนงานที่ 6 การปรับปรุงพัฒนาสวนป่าเศรษฐกิจขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้(ความเสี่ยง : ผลิตภาพการผลิตต่ำ) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : จัดทำแผนปรับปรุงพัฒนาปลูกสร้างสวนป่าแล้วเสร็จ สามารถนำไปใช้ได้ * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : - 5% * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 25 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 9 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : อยู่ที่ระดับปานกลาง 6 (ไตรมาส 2 = 25) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. การจัดทำแผนปรับปรุงแผนพัฒนาสวนป่าแต่ละชนิดไม้  2. ดำเนินการตามแผนที่กำหนด 3. ประชุมติดตามประเมินผล / ทบทวน ทุกปี  แผนพัฒนาสวนป่าผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการฯ อ.อ.ป. เมื่อ 23 ก.ย. 52 และแผนการปฏิบัติผู้อำนวยการเห็นชอบ 29 ก.ย. 52

  10. แผนงานที่ 7 การปรับปรุงพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไม้ (ความเสี่ยง : ขาดรูปแบบของแนวทางการผลิตอุตสาหกรรมไม้ที่เหมาะสม) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการดีขึ้นขาดทุนลดลงร้อยละ 30 จากปีที่ผ่านมา * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ขาดทุนลดลง 15% * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูงมาก 20 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับสูงมาก 16 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ยังคงอยู่ที่ระดับสูงมาก 20 (เท่าไตรมาส 2) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. ติดตามการดำเนินการตามแนวทางการปรับปรุงอุตสาหกรรมไม้  2. ประชุมเร่งรัด / ติดตามประเมินผล / ทบทวน ทุกปี  การดำเนินงานไตรมาส 3 ขาดทุนสะสม 21.94 ล้านบาท อยู่ระหว่างปรับปรุงแผนการผลิตและปรับปรุงอัตรากำลังให้เหมาะสม

  11. แผนงานที่ 8 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการธุรกิจในการท่องเที่ยวและคชบาลฯ(ความเสี่ยง : ขาดแผนงานดำเนินธุรกิจท่องเที่ยว/คชบาลฯ ที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : จำนวนผู้เข้าชมกิจการ/เข้าพักค้างคืนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ของปีที่ผ่านมา * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ผู้เข้าชมกิจการ/เข้าพักค้างคืนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับต่ำ 20 /ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 6 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ลดลงมาอยู่ที่ระดับต่ำ 1 (ไตรมาส 2 = 1 ) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. ติดตามการดำเนินการตามแนวทางการปรับปรุงธุรกิจบริการ  2. ประชุมเร่งรัด / ติดตามประเมินผล / ทบทวน ทุกปี  ผลการดำเนินงานไตรมาส 3 ปี 2552 มีจำนวนผู้เข้าชมกิจการ/พักค้างคืนสะสม 92,554 คน เปรียบเทียบไตรมาส 3 ปี 2551 มีจำนวนผู้เข้าชมกิจการ/พักค้างคืน 69,133 คน เพิ่มขึ้น 23,421 คน เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 33.88

  12. แผนงานที่ 9การปรับปรุงกฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจองค์กร(ความเสี่ยง : การหยุดชะงักของการดำเนินธุรกิจและการลงทุน) *ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องได้รับการปรับปรุง แก้ไขอย่างน้อย 1 เรื่อง * ช่วงเบี่ยงเบนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ : ไม่มี * ระดับความเสี่ยงเดิม : อยู่ที่ระดับสูง 12 / ระดับความเสี่ยงที่คาดหวัง : อยู่ที่ระดับปานกลาง 8 * ระดับความเสี่ยงใหม่ : ลดลงมาอยู่ที่ระดับปานกลาง 3 (เท่าไตรมาส 2) * กิจกรรมการจัดการความเสี่ยง : 1. เร่งรัดขอทบทวนการแก้ไข นโยบาย กฎ และระเบียบ  2. ประสาน / จัดทำรายละเอียดชี้แจงกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด ทั้งระดับปฏิบัติและนโยบาย  3. ติดตามประเมินผลสรุปเสนอผู้บริหาร  อยู่ระหว่างการพิจารณาของรัฐมนตรี ทส. เพื่อนำเสนอ ครม.

More Related