1 / 28

วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น.

การปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552. วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้อง 2605 – 2605 / 1 อาคารบริหาร (ส่วนต่อเติม) ชั้น 6. หัวข้อการบรรยาย. 1. แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

Download Presentation

วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในการปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552 วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้อง 2605 – 2605 / 1 อาคารบริหาร (ส่วนต่อเติม) ชั้น 6

  2. หัวข้อการบรรยาย 1. แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (โดยสังเขป) 2. องค์ประกอบ / ตัวบ่งชี้ ระดับสาขาวิชา หน่วยงานสนับสนุน 3. รูปแบบการรายงานผลการประเมิน

  3. แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (โดยสังเขป) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้องค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ของ สกอ. เป็นหลัก และเพิ่มเติมด้วยตัวบ่งชี้ของ สมศ. และ ก.พ.ร. ตามความเหมาะสม ตัวบ่งชี้ที่มหาวิทยาลัยเพิ่มเติม กำหนดรหัสตัวบ่งชี้เป็นทศนิยม ตำแหน่งที่สอง เช่น 2.12.1 เป็นต้น

  4. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ระดับสาขาวิชา มีจำนวน 8 องค์ประกอบ (รวม 46 ตัวบ่งชี้) ได้แก่

  5. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ระดับหน่วยงานสนับสนุน มีจำนวน 3 องค์ประกอบ (รวม 10 ตัวบ่งชี้) ได้แก่ หมายเหตุ บางหน่วยงานอาจจะมีตัวบ่งชี้เพิ่มเติมจากที่มหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีที่เป็นเจ้าภาพที่รับผิดชอบ ภาระงานหลักของมหาวิทยาลัย หรือในกรณีที่หน่วยงานมีความประสงค์จะเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ สนองตอบต่อผลการดำเนินงานของหน่วยงานเอง

  6. หมายถึง ..... ตัวบ่งชี้ที่มีเจ้าภาพหลักในการจัดทำข้อมูล ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบภาระงานหลักของมหาวิทยาลัย โดยได้กำหนดให้หน่วยรับประเมินที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้เป็นผลการดำเนินงานหน่วยงานในเบื้องต้น ซึ่งภายหลังจากการประเมินคุณภาพ ระดับมหาวิทยาลัย ทุกหน่วยงานจะได้คะแนนเท่ากับที่มหาวิทยาลัยได้รับ ดังนั้น ผลการดำเนินงานของหน่วยรับประเมินจะ เหมือนกันทุกหน่วยงานรวมทั้งสิ้น 13 ตัวบ่งชี้ ทั้งนี้ ผู้ประเมินสามารถดูผลการดำเนินงานได้จากฐานข้อมูลกลาง ซึ่งอยู่ใน WebSiteของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา http://eservice.stou.ac.th -> สารสนเทศหน่วยงาน -> ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา -> ประกันคุณภาพการศึกษา -> ปี 2552 ->ฐานข้อมูลกลางเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา

  7. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  8. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  9. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  10. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  11. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  12. ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)

  13. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ เป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงผลการดำเนินงานเป็นจำนวน แสดงค่าเป็นตัวเลข หมายถึง ..... ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณทุกตัวบ่งชี้จะมีเจ้าภาพหลักในการจัดทำข้อมูล จำแนกตามผลการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน มีทั้งสิ้น จำนวน 19 ตัวบ่งชี้ ดังนั้น หน่วยรับประเมินทุกหน่วยงานจะนำข้อมูลจากเจ้าภาพหลักไปใช้เป็นผลการดำเนินงานของตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประเมินสามารถตรวจผลการดำเนินงาน โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลกลาง ซึ่งอยู่ใน WebSiteของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา

  14. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ เป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงผลการดำเนินงานเป็นจำนวน แสดงค่าเป็นตัวเลข http://eservice.stou.ac.th -> สารสนเทศหน่วยงาน -> ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา -> ประกันคุณภาพการศึกษา -> ปี 2552 -> ฐานข้อมูลกลางเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (ข้อมูลจัดทำในรูปแบบ file ที่เป็น excel ซึ่งใน 1 file จะประกอบด้วยข้อมูลที่มากกว่า 1 sheet โดย Sheet แรกจะเป็นผลการดำเนินงานในภาพรวมจำแนกตามหน่วยงาน ส่วนรายละเอียดประกอบผลการดำเนินงานจะอยู่ใน Sheet ถัดไปของ file เดียวกัน)

  15. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)

  16. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)

  17. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)

  18. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)

  19. มหาวิทยาลัยขอให้ผู้ประเมินใช้ฐานข้อมูลกลางตามที่เจ้าภาพหลักแจ้งผลการดำเนินงานผ่านศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาไว้เป็นสำคัญ หากหน่วยรับประเมินใดมีผลการดำเนินงานที่แตกต่างจากฐานข้อมูลกลางดังกล่าว ขอให้ผู้ประเมินตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเอกสาร / หลักฐานตามเกณฑ์การประเมินให้สอดคล้องกัน หากพบว่า ข้อมูลที่เพิ่มเติมจากหน่วยรับประเมินถูกต้อง หน่วยรับประเมินจะต้องทำหนังสือแจ้งขอเพิ่มข้อมูลผลการดำเนินงาน พร้อมเอกสาร / หลักฐานที่เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ถึงรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน (ผ่านผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา) โดยผู้ประเมินโปรดลงนามกำกับ เพื่อยืนยันความถูกต้อง หากมีข้อสงสัยใดๆ ขอให้ผู้ประเมินประสานงานกับศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาโดยทันที ข้อสังเกต

  20. เนื่องจากมีตัวบ่งชี้เชิงปริมาณบางตัวบ่งชี้ที่มีการจัดทำข้อมูลคลาดเคลื่อน หรือมีการปรับข้อมูลเพิ่มขึ้น เนื่องจากเจ้าภาพมีเอกสาร / หลักฐานยืนยันเพิ่มเติมภายหลังจากที่ได้มีการส่งเล่มรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เรียบร้อยแล้ว จึงขอให้ผู้ประเมิน เน้น การตรวจข้อมูลเชิงปริมาณจากฐานข้อมูลกลางที่อยู่ใน Website ของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของหน่วยงานให้สอดคล้องกัน เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 2.9, 2.10, 2.12.6 เป็นต้น สำหรับตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ เกณฑ์บางตัวมีเจ้าภาพหลักดำเนินการให้ในภาพรวมของมหาวิทยาลัย หน่วยรับประเมินไม่สามารถดำเนินการได้เอง หน่วยรับประเมินจะใช้เอกสาร / หลักฐานร่วมกับของมหาวิทยาลัย โดยจะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร “มสธ. .........” ดังนั้น จึงขอให้ผู้ประเมิน เน้น การตรวจเอกสาร / หลักฐานที่ขึ้นต้นด้วยอักษรย่อของหน่วยรับประเมิน เช่น เอกสาร / หลักฐานของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ จะใช้คำว่า “ศษ. 1.1 – 2 (1)” เป็นต้น แต่หากผู้ประเมินมีข้อแนะนำเกี่ยวกับเอกสาร / หลักฐานระดับมหาวิทยาลัย สามารถให้คำแนะนำเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อสังเกต (ต่อ)

  21. ขอยกเว้นการตรวจประเมินตัวบ่งชี้ที่ 7.3 เนื่องจากได้มีการตรวจประเมินและประกาศผลโดยคณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยแล้ว โดยได้กำหนดให้หน่วยรับประเมินรายงานผลการประเมินที่ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยระบุไว้ใน (SAR) ดังนั้น จึงขอให้ผู้ประเมินตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของหน่วยรับประเมินกับผลการประเมินตามที่ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการฯ ซึ่งผู้ประเมินสามารถดูผลการประเมินของคณะกรรมการฯได้จากฐานข้อมูลกลางที่อยู่ใน Website ของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อสังเกต (ต่อ)

  22. มหาวิทยาลัยได้ขอให้หน่วยรับประเมินทุกหน่วยงานจัดทำเอกสาร / หลักฐานเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ บันทึกลงแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) เพื่อความสะดวกของทั้งหน่วยรับประเมิน และผู้ประเมิน ทั้งนี้ อาจมีบางหน่วยรับประเมินที่ยังคงมีข้อจำกัดในการจัดทำเอกสาร / หลักฐานเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จึงยังคงเอกสาร / หลักฐานที่เป็นกระดาษ เนื่องจากคณะกรรมการประเมินในแต่ละหน่วยรับประเมินประกอบด้วยประธาน / กรรมการซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก จึงขอความกรุณาผู้ประเมินภายในแต่ละคณะ โปรดแจ้งแนวทางในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยฯ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกทราบด้วย หากมีข้อขัดข้องใดๆ ขอให้ผู้ประเมินประสานงานกับศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาโดยทันทีที่หมายเลขโทรศัพท์ 7182-5 ข้อสังเกต (ต่อ)

  23. รูปแบบการรายงานผลการประเมินรูปแบบการรายงานผลการประเมิน 1. รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา/หน่วยงานสนับสนุน ประกอบด้วยสาระประมาณ 10-15 หน้า ดังนี้ 1. รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. .............................................................................. ประธานคณะผู้ประเมิน 2. .............................................................................. ผู้ประเมิน 3. .............................................................................. ผู้ประเมินและเลขานุการ 2. ชื่อหน่วยงานรับประเมิน ........................................................ 3. วันเดือนปี ที่ประเมิน....................................................... 4. วิธีการประเมิน 4.1 ศึกษารายงานประเมินตนเองของ............................................ 4.2 ศึกษาเอกสารหลักฐานของตัวบ่งชี้ต่างๆ 4.3 สัมภาษณ์บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้เกี่ยวข้อง 4.3.1 ผู้บริหาร 4.3.2 กรรมการประกันคุณภาพของหน่วยงาน 4.3.3 ผู้ใช้บริการ/อื่นๆ............................................ 5. ผลการประเมินคุณภาพ (ตามตารางแบบ ป.1)

  24. ตาราง ป.1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ ประจำปีการศึกษา ..……..

  25. 6. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาหน่วยงานตามองค์ประกอบ (เน้นการใช้ PDCA) องค์ประกอบที่...................................................................................................................................................... จุดเด่น........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... จุดที่ควรพัฒนา........................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... โอกาสในการพัฒนา/ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา..................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 7. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของคณะผู้ประเมิน 7.1 การนำข้อเสนอแนะจากคณะผู้ประเมินในปีที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2551) มาพัฒนา / ปรับปรุง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ในภาพรวม .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

  26. การให้คะแนนผลการประเมินการให้คะแนนผลการประเมิน • การคำนวณผลการประเมิน หากไม่เป็นเลขจำนวนเต็มให้แสดงผลโดยใช้ทศนิยม 2 หลัก และถ้ามีทศนิยมมากกว่า 2 หลัก ให้ใช้หลักการปัดเศษตามสากล โดยให้ปัดขึ้นจากทศนิยม ตำแหน่งที่ 3 เช่น 69.9945 ปัดเป็น 69.99 69.9956 ปัดเป็น 70.00 • หากตัวบ่งชี้ใดไม่มีข้อมูล หรือไม่มีผลดำเนินการให้มีผลประเมินเป็น 0 • การแปลผลการประเมิน คะแนนเต็ม 3 คะแนน • < 1.50 ผลการดำเนินงาน ยังไม่ได้คุณภาพ • 1.51 – 2.00 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ พอใช้ • 2.01 – 2.50 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ ดี • 2.51 – 3.00 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ ดีมาก

  27. กำหนดส่งรายงานผลการประเมินกำหนดส่งรายงานผลการประเมิน • สำหรับผู้ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการจะได้รับเอกสาร / ข้อมูลเพิ่มเติม คือ • แผ่นบันทึกแบบรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2552 • โดยขอความร่วมมือในการส่งแบบรายงานฯ คืนอย่างช้าไม่เกิน 15 วัน • นับจากเสร็จสิ้นการประเมิน • ขอให้คณะกรรมการประเมินรายงานผลการประเมินแก่หน่วยรับประเมินด้วยวาจา • โดยมิให้ส่งเอกสารการรายงานผลการประเมินให้แก่หน่วยรับประเมิน • หลังจากมีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในครบทุกหน่วยงาน • ศปศ. จะจัดกิจกรรมการประชุมเชิงอภิมาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ • ผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระหว่างกรรมการร่วมกัน

  28. สวัสดีค่ะ

More Related