1 / 11

DHCP/DNS

DHCP/DNS. สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวขวัญฤทัย อินบุญเชิด 5440208102 2. นางสาวฐิตาภา ปัญญาแก้ว 5440208106 3. นางสาวนงนุช ศรีรัตน์ 5440208108 4. นางสาวพิมพ์ใจ ประสารศรี 5440208118 5. นายศักดิ์นุกร คำจันทร์ดา 5240207336. DHCP คืออะไร

heba
Download Presentation

DHCP/DNS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DHCP/DNS สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวขวัญฤทัย อินบุญเชิด 5440208102 2. นางสาวฐิตาภา ปัญญาแก้ว 5440208106 3. นางสาวนงนุช ศรีรัตน์ 5440208108 4. นางสาวพิมพ์ใจ ประสารศรี 5440208118 5. นายศักดิ์นุกร คำจันทร์ดา 5240207336

  2. DHCP คืออะไร ( DHCP ) ย่อมาจากคำว่า Dynamic Host Configuration Protocolเป็นโพรโตคอลมาตรฐานที่ทำหน้าที่จ่ายIP Address และค่าพารามิเตอร์ที่จำเป็น ยกตัวอย่างเช่น Subnet mask, IP Address ของ Default Gateway, IP Address ของ DNS Server เป็นต้นให้แก่เครื่องลูกข่าย (Client) โดยอัตโนมัติ โดยใช้ Protocol UDP Port 67 สำหรับส่ง data จากเครื่องลูกข่ายไปยัง DHCPServer และใช้ Protocol UDP Pot 68 สำหรับส่ง Data จาก DHCP Server ไปยังเครื่องลูกข่าย

  3. ขั้นตอนการทำงานของ DHCP • เครื่อง Client ทำการค้นหาตำแหน่งที่อยู่ของ DHCP Server บนระบบเครือข่ายโดยการส่งแมสเซจ DHCPDiscover ออกไปบนเครือข่ายเพื่อร้องขอ IP Address • DHCP Server จะค้นหาหมายเลข IP Address จากฐานข้อมูลในเครื่องเพื่อไม่ให้ซ้ำกัน แล้วส่งแมสเซจ DHCPOffer กลับไปให้เครื่อง Client ที่ขอมา • เมื่อเครื่อง Client ได้รับหมายเลข IP Address แล้ว เครื่อง Client จะส่งสัญญาณตอบกลับ DHCPRequest มาให้ทราบ • DHCP Server จะส่งสัญญาณ DHCPAck กลับไปยังเครื่อง Client เพื่อให้เริ่มใช้งานได้ และ DHCP Server จะเก็บหมายเลข IP Address นั้นเอาไว้ไม่ให้ใครใช้

  4. ตัวอย่างการทำงานของ DHCP

  5. ข้อดี • ช่วยให้การนำเครื่องใหม่ๆเข้ามาติดตั้งในระบบได้ง่ายขึ้น • DHCP จะทำหน้าที่จัดการ เรื่อง IP Address ให้ทุกๆเครื่องในระบบโดยอัตโนมัติ ผู้จัดงานระบบไม่ต้องจำว่า เครื่องไหน IP อะไร เพื่อจะได้ตั้ง IP ไม่ให้ซ้ำกัน. • DHCP Server ที่ฉลาดจะต้องจ่าย IP ให้แต่ละเครื่องไม่ซ้ำกัน และต้องเที่ยงตรงตลอดเวลาที่ทำงาน. ข้อเสีย • บางครั้งบางเวลา IP Address ของ Windows เครื่องสองเครื่องหรือหลายเครื่อง ซ้ำกันซึ่งจะต้องแก้ปัญหานี้โดย Re-boot เครื่องใหม่ หรือ reset LAN Driver จนกว่าจะไม่ซ้ำกันเอง • เครื่อง Boot แล้วแต่ดูเหมือนว่าเครื่องต้องใช้เวลานานในบางจังหวะ (เพราะว่า เครื่องจะต้องพยายามควานหา DHCP Server ที่มีอยู่ในระบบก่อนเพื่อที่จะได้ IP Address มาใช้กับตัวเอง) บางครั้ง DHCP Server ยังไม่ได้เปิดอยู่

  6. ทำเพื่ออะไร ? • เป็นมาตรฐานการสื่อสารในระบบเครือข่ายอย่างหนึ่ง ใช้สำหรับกำหนดหมายเลข/แจกจ่ายหมายเลข IP Address (หมายเลขคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบเครือข่าย เพื่อให้มีหมายเลขไม่ซ้ำกัน)

  7. DNS คืออะไร ( DNS )ย่อมาจากคำว่า Domain Name System หมายถึงระบบจัดการแปลงชื่อไปเป็นหมายเลข IP address โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลำดับชั้นเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว

  8. การทำงานของระบบ DNS • การทำงานของระบบชื่อโดเมนนั้นทำงานอยู่บนชั้นฟิสิคัล เริ่มต้นจากเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เป็น DNS Serverซึ่งทำงานด้วยซอฟแวร์พิเศษชื่อว่า BIND ที่ทำหน้าที่ในการรับส่งข้อมูลระหว่าง DNS Server แต่ละเครื่องผ่าน DNS Photocal เมื่อมีคำร้อง ขอให้สืบค้นหาหมายเลข ไอพี • กระบวนการทำงานของ DNS ประกอบด้วย รีโซลเวอร์(Resolver) ซึ่งเป็นโปรแกรมในเครื่อง Clientที่ขอบริการ DNS หน้าที่ของรีโซลเวอร์ คือรับคำสั่งจากโปรแกรมประยุกต์ที่ขอสอบถามข้อมูลจากเนมเซอร์เวอร์ และนำผลลัพธ์ ที่ได้ส่งคืนให้แก่โปรแกรมประยุกต์ • รีโซลเวอร์ในยูนิกส์จะอาศัยแฟ้ม /etc/resolv.confingที่กำหนดว่าเครื่องที่ใช้งานนั้นอยู่ในโดเมนใดและต้องติดต่อกับเนมเซอร์เวอร์ใด

  9. ตัวอย่างการทำงานของ DNS

  10. ข้อดี • คือ ถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่องใหม่ หรือย้ายเครื่องเป็น IP address ใหม่ ผู้ดูแลระบบก็สามารถทำได้อย่างง่ายดาย โดยไปแก้ไขค่าที่กำหนดไว้ในกลไกแปลง name-to-IP address เท่านั้น ข้อจำกัดของระบบDNS • รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ • ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive) • เลข 0 – 9 • เครื่องหมายยติภังค์ (-)

  11. ทำเพื่ออะไร ? • การเชื่อมต่อสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ในระบบ internet นั้นใช้มาตรฐาน TCP/ IP ที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องมีหมายเลข IP Address ไม่ซ้ำกัน ซึ่งใช้ เวลาติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยจะอ้างถึงหมายเลขประจำตัวเครื่องปลายทางที่เราติดต่อได้ทันที โดยปกติเครื่อง Web Server จะมี IP Address ทั้งนี้เกิดปัญหาในการจำ เพราะว่า IP Address มีตัวเลขถึง 12 ตัว จากจุดนี้เลยได้มีการคิดที่จะแปลง IP Address ให้เป็นชื่อที่จำได้ง่าย Domain Name System จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อใช้ชื่อแทนที่หมายเลข IP ฉะนั้น DNS คือระบบการแปลงค่าระหว่าง IP Address และชื่อเครื่อง(Host)

More Related