1 / 12

เรื่อง Network Fiber Optic

Cable Broadband. เอกสารอบรม. เรื่อง Network Fiber Optic. By Leo technology and marketing co.Ltd. Cable Broadband. Fiber Optic cable สายนำสัญญาณเพื่ออนาคต.

gerik
Download Presentation

เรื่อง Network Fiber Optic

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cable Broadband เอกสารอบรม เรื่องNetworkFiber Optic By Leo technology and marketing co.Ltd

  2. Cable Broadband Fiber Optic cable สายนำสัญญาณเพื่ออนาคต ในอาคารบ้านเรือน ที่อยู่พักอาศัย คอนโมเนียมหรือสำนักงานต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้สายสัญญาณเพื่อเชื่อมโยงระบบสื่อสาร แต่เดิมสายสัญญาณที่นำมาใช้ ได้แก่ สายตัวนำทองแดง(Coaxial Cable) อาทิเช่น สายA/V, สายโทรศัทพ์, สาย LAN ฯลฯ ปัจจุบันสายนำสัญญาณระบบสื่อสารมีการพัฒนาให้ดีขึ้นตามเทคโนโลยีการวิจัยและการผลิต โดยเฉพาะ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีแนวโน้มที่จะรวมระบบสื่อสาร อย่างอื่นประกอบเข้ามาในระบบด้วย เช่น ระบบเคเบิลทีวี ระบบโทรศัพท์ ระบบการบริการข้อมูลข่าวสารเฉพาะทาง ของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ ความจำเป็นลักษณะนี้ จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า ถึงเวลา แล้วหรือยังที่จะให้อาคารสำนักงานและที่พักอาศัยที่สร้างใหม่ หรือเก่าได้มีการปรับปรุงระบบเครือข่ายสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)หากพิจารณาให้ดีพบว่า เวลานั้นได้มาถึงแล้ว ปัจจุบันราคาของเส้นใยแก้วนำแสงที่เดินในอาคารมีราคาใกล้เคียงกับสาย Coaxial Cable, UTP แบบเกรดที่ดี เช่น CAT 5 ขณะเดียวกันสายเส้นใยแก้วนำแสง ให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่ามาก และรองรับการใช้งานในอนาคตได้มากกว่า สายยูทีพี (UTP) แบบ CAT 5 รองรับความเร็วสัญญาณ ได้ 100 เมกะบิตต่อวินาที และมีข้อจำกัดในเรื่องความยาวเพียง 100 เมตร ขณะที่สายใยแก้วนำแสงรองรับความถี่สัญญาณได้หลายร้อยเมกะเฮิรตซ์ และยังใช้ได้กับ ความยาวถึง 2,000 เมตร (ขึ้นอยู่กับประเภทสาย) การพัฒนาในเรื่องต่างๆของเส้นใยแก้วนำแสงได้ก้าวมาถึงจุดที่จะนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางแล้ว By Leo technology and marketing co.Ltd

  3. Cable Broadband สาย Fiber Optic แบ่งออกเป็น 2 แบบ 1. Single Mode (SM) มีเส้นผ่าศูนย์กลางของ Core และ Cladding 9/125 um ตามลำดับ ซึ่งส่วนของแกน แก้วจะมีขนาดเล็กมากและจะให้แสงออกมาเพียง Mode เดียว แสงที่ใช้จะต้องเป็นเส้นตรง ข้อดีทำให้ส่งสัญญาณได้ไกลประมาณ 30 กิโลเมตร By Leo technology and marketing co.Ltd

  4. Cable Broadband 2. Multi Mode เป็นเส้นใยแก้วนำแสงที่มีลักษณะการกระจายแสง ออกด้านข้างได้ ดังนั้นจึงต้องสร้างให้มีดัชนีหักเหของแสง กับอุปกรณ์ฉาบผิวที่สัมผัสกับ cladding ให้สะท้อนกลับหมด หากการให้ดัชนีหักเหของแสงมีลักษณะทำให้แสงเลี้ยวเบนทีละน้อย เราเรียกว่าแบบเกรดอินเด็กซ์ หากให้แสงสะท้อนโดยไม่ปรับคุณสมบัติของแท่งแก้วให้แสงค่อยเลี้ยวเบนก็เรียกว่าแบบ สเต็ปอินเดกซ์ เส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้ในเครือข่ายแลน ส่วนใหญ่ใช้แบบมัลติโหมด โดยเป็นขนาด 62.5/125 ไมโครเมตร หมายถึงเส้นผ่าศูนย์กลาง ของท่อแก้ว 62.5 ไมโครเมตร และของเคลดดิงรวมท่อแก้ว 125 ไมโครเมตร คุณสมบัติของเส้นใยแก้วนำแสงแบบ Step Index มีการสูญเสียสูงกว่าแบบ Grad Index รูปที่ 2 เส้นใยแก้วนำแสงแบบ Multi Mode By Leo technology and marketing co.Ltd

  5. Cable Broadband จุดเด่นของสายใยแก้วนำแสงจุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง(Coaxial Cable) ที่จะนำมาใช้ แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้ มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย - ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้ว ขนาดเล็ก มีการโค้งงอได้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้ กันมากคือ 62.5/125 ไมโครเมตร Multi Mode (MM) เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้ เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไป เมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า 160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าใช้ ความยาวคลื่น 1,300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าลดความยาวลงเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่ของสัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ได้ ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์ - กำลังสูญเสียต่ำ เส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนข้างต่ำ ตามมาตรฐานของ เส้นใยแก้วนำแสง การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2,000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 3,000 เมตร ต้องใช้ รีพีตเตอร์ ทุกๆ 3,000 เมตร การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตร หากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถี่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็น สายสัญญาณ คุณสมบัติ ของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถี่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำ ทองแดง สูงขึ้น อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสง เราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยน สัญญาณ รับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสง - แบนด์วิดธ์กว้าง ทำให้สามารถส่งสัญญาณเคเบิลทีวีได้มากกว่า 100 ช่อง ผ่านสายไฟเบอร์ออฟติกเพียงเส้นเดียว By Leo technology and marketing co.Ltd

  6. Cable Broadband • คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้ ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณ แบบทองแดง คือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า • ปัญหานี้มีมาก ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่า Crosstalk การไม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ • การรบกวนจากปัจจัย ภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหาเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล แต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสง แล้ว ปัญหาเรื่องเหล่านี้ • จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะ และไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การเดินทาง ในเส้นแก้วก็ปราศจากการรบกวน • ของแสงจากภายนอก • -น้ำหนักเบา เส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบากว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนัก ของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไป • มีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซนต์ของสาย UTP แบบ CAT 5 • - ขนาดเล็ก เส้นใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้ว เล็กกว่าลวดทองแดง มาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสง เมื่อรวมวัสดุหุ้ม • แล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซนต์ ของเส้นลวดยูทีพีแบบ CAT 5 • -มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า การใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้ แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการ • ดักฟังข้อมูล • - มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน การที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดลงจร การเกิดอันตรายจาก • กระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้น • ฯลฯ By Leo technology and marketing co.Ltd By Leo technology and marketing co.Ltd

  7. Cable Broadband การติดตั้งระบบ Fiber Optic ในระบบเคเบิลทีวี การนำระบบ Fiber Optic เข้ามาใช้ในระบบ เคเบิล ทีวี นั้นเพื่อลดปัญหาในการส่งสัญณาณคือ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับ ณ. จุดใดจุดหนึ่งหรือ อุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งเกิดปัญหา จะทำให้ Network ที่ต่อจากจุดนั้นไม่สามารถส่งสัญญาณได้ รวมทั้งการส่งสัญญาณไปในระยะทางไกล ๆ จะมีผลทำให้ความคมชัดของภาพลดลงตามค่า S /N ลดลง การนำระบบ HFC มาใช้ในระบบ CATV จึงแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ By Leo technology and marketing co.Ltd

  8. Cable Broadband อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบ Fiber Optic Optical Transmitter ทำหน้าที่แปลงสัญญาณเคเบิลทีวี ไปเป็นสัญญาณแสง Optical Receiver ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแสง เป็นสัญญาณเคเบิลทีวี By Leo technology and marketing co.Ltd

  9. Cable Broadband Optical Splitter ทำหน้าที่เป็นตัวแยกสัญญาณแสง ในกรณีที่ส่งสัญญาณแสงหลายจุด Pigtail Connector เป็นขั้วต่อที่ใช้ในระบบ Fiber Optic By Leo technology and marketing co.Ltd

  10. Cable Broadband Optical Adaptor ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการต่อ Pigtail Connector CLOSURE ทำหน้าที่เก็บสาย Fiber Optic ที่ทำการ Splice แล้ว By Leo technology and marketing co.Ltd

  11. Cable Broadband การเชื่อมต่อ เคเบิลใยแก้ว วิธีต่อสายเคเบิลใยแก้ว มี 2 แบบ 1.Mechanical Splice เป็นการต่อโดยเจลใสเป็น Coupling แสง -ค่าสูญเสีย ประมาณ 0.1 dB ขึ้นไป -เครื่องมือราคาถูก 2.Fusion Splice เป็นการเชื่อมต่อโดยใช้ความร้อนจากการอาร์คเชื่อม ต่อใยแก้วให้เป็นเนื้อเดียวกัน - ค่าสูญเสียต่ำ ประมาณ 0.01 dB - เครื่องมือราคาสูง By Leo technology and marketing co.Ltd

  12. Cable Broadband ตาราง Optical Splitter Ratio Power Tx By Leo technology and marketing co.Ltd

More Related