1 / 17

L ivestock Waste Management in East Asia Project องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)

L ivestock Waste Management in East Asia Project องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO). Overview and Plans. Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO) องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ.

felcia
Download Presentation

L ivestock Waste Management in East Asia Project องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Livestock Waste Management in East Asia Projectองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) Overview and Plans

  2. Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO)องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาติ (FAO) ก่อตั้งเมื่อปี 2488 เป็นผู้นำด้านความร่วมมือระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาความอดอยาก รวมถึงเป็นหน่วยงานที่ให้ข้อมูลและความรู้เพื่อช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนาเพื่อพัฒนาด้านการเกษตร ป่าไม้ ประมง และส่งเสริมให้เกิดการกินดีอยู่ดีในสังคมส่วนรวม

  3. Livestock, Environment and Development(LEAD) LEADมีเป้าหมายในการปกป้องและฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมจากการทำปศุสัตว์และลดความยากจน เนื่องจากตระหนักถึงความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างนโยบายรัฐกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทำปศุสัตว์หน่วยงานได้ให้คำแนะนำด้านนโยบายสิ่งแวดล้อม และแนะนำการใช้เทคโนโลยีในหลายรูปแบบเพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมถึงการให้ทุนเพื่อการศึกษาและพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศต่างๆ ด้วย

  4. Area Wide Integration (AWI)การดำเนินการโครงการการผลิตแบบผสมผสานในพื้นที่ขนาดใหญ่ ปีพศ. 2543 LEAD มีโครงการนำร่องชื่อว่า AWI (การดำเนินการโครงการการผลิตแบบผสมผสานในพื้นที่ขนาดใหญ่) เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการของเสีย (น้ำเสียและมูล) จากฟาร์มปศุสัตว์ โดยการนำไปใช้เป็นปุ๋ยในการปลูกพืชในพื้นที่ข้างเคียงฟาร์มสุกรเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารซึ่งสามารถลดปัญหาการตกค้างของธาตุอาหารในดิน ในแหล่งน้ำดิน แหล่งน้ำผิวดิน ปัญหาสุขอนามัยของผู้ที่อาศัยบริเวณฟาร์ม อีกทั้งช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีอีกด้วย โดยมีฟาร์มทดลองอยู่ใน จีน ไทย และ เวียดนาม สำหรับประเทศไทย ฟาร์มทดลองอยู่ใน ชลบุรี และ ระยอง

  5. Area Wide Integration (AWI)การดำเนินการโครงการการผลิตแบบผสมผสานในพื้นที่ขนาดใหญ่กิจกรรมหลัก • Nutrient recycling through waste management การประเมินการไหลเวียนของธาตุอาหาร และ ออกแบบวิธีการการใช้น้ำเสียกับพืช • On farm Economics Analysis การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ในฟาร์ม • Spatial analysis and spatial planning การวางแผนเชิงพื้นที่ • Analysis of regional economics การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการของเสียในฟาร์ม

  6. Livestock Waste Management in East Asia Project บทบาทของFAOในการสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการในระดับภูมิภาค • Capacity building support เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานของประเทศที่เข้าร่วมโครงการ • Decision tools development support พัฒนาเครื่องมือที่มีความเจาะจงในการวางแผน • Training modules development support พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ • Project activities/outcomes evaluation support สนับสนุนการประเมินผลของโครงการ

  7. Livestock Waste Management in East Asia Project บทบาทของFAOในการสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการในระดับภูมิภาค • Regional coordination & facilitation support ประสานงานและอำนวยความสะดวกในการทำงานในระดับภูมิภาค • Regional facilitation การอำนวยความสะดวกในการทำงาน • Regional coordination การประสานงานในระดับภูมิภาค • Regional dissemination การเผยแพร่โครงการไปสู่ประเทศต่างๆในภูมิภาค

  8. Regional Facilitation Office: RFOหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานระดับภูมิภาคบุคลากร • FAORAP Bangkok: • Regional Project Coordinator ผู้ประสานงานโครงการระดับภูมิภาค • Senior Livestock Officer เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านผลิตภัณฑ์และสุขภาพสัตว์ • Operations Office เจ้าหน้าที่ด้านการจัดการ • Project Assistant ผู้ช่วยประสานงานโครงการ

  9. Regional Facilitation Office: RFOหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานระดับภูมิภาคบุคลากร • FAO HQ Rome: • Livestock Policy Officer เจ้าหน้าที่ด้านนโยบายปศุสัตว์ • Chief of LEAD หัวหน้าหน่วยงานLEAD

  10. Decision tools & training packagesเครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน และหลักสูตรการฝึกอบรม เครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน5 ชนิด 1) Tools for spatial Planning of livestock development เครื่องมือการวางแผนเชิงพื้นที่สำหรับการพัฒนาปศุสัตว์ 2) Nutrient flux model แบบจำลองสำหรับการประเมินการจัดการธาตุอาหาร 3) Tools for the selection of technical validation of on-farm manure management options ข้อมูลทางด้านเทคนิคในการจัดการของเสียในฟาร์ม

  11. Decision tools & training packagesเครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน และหลักสูตรการฝึกอบรม เครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน5 ชนิด (ต่อ) 4) Tools for monitoring environmental, public health and socio-economic impacts of intensive livestock production เครื่องมือสำหรับติดตามผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพอนามัยเศรษฐกิจสังคมจากการทำปศุสัตว์ 5) Tools to support the ex ante assessment of policy changes เครื่องมือในการประเมินผลล่วงหน้าของการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายปศุสัตว์และสิ่งแวดล้อม

  12. Decision tools & training packagesเครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน และหลักสูตรการฝึกอบรม • สร้างและพัฒนาเครื่องมือ 5 ชนิด และ หลักสูตรในการฝึกอบรม ในช่วง 4 ปีแรกของโครงการ • เครื่องมือทั้ง 5 ชนิดจะได้รับการพัฒนาต่อเนื่องจากโครงการต่างๆที่ผ่านมาของ FAO/LEAD รวมทั้งตามความประสงค์ของประเทศที่เข้าร่วมโครงการ

  13. Decision tools & training packagesเครื่องมือที่มีความเจาะจงทางด้านการวางแผน และหลักสูตรการฝึกอบรม • เครื่องมือที่เราจะสามารถสร้างได้อย่างเร็วที่สุดคือ: • แบบจำลองสำหรับการประเมินการจัดการธาตุอาหาร เสร็จภายในปีแรกของโครงการ • เครื่องมือการวางแผนเชิงพื้นที่ เสร็จภายในปีที่สองของโครงการ • เครื่องมือในการติดตามผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพอนามัย และด้านเศรษฐกิจและสังคม เสร็จภายในปีที่สองของโครงการ

  14. Support for Monitoring & Evaluationการสนับสนุนด้านการวัดผลและประเมินผล • สนับสนุนด้านการวัดผลทางสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และ ทางเศรษฐกิจและสังคม • สนับสนุนทางด้านการประเมินผล ปีแรกของโครงการ จะมีการจัดตั้งศูนย์รวมผู้เชี่ยวชาญทุกด้านเพื่อการประเมินผลโครงการในปีที่สองของโครงการเป็นต้นไป

  15. Other capacity building supportsการสร้างเสริมประสิทธิภาพด้านอื่นๆ • จัดการอบรมต่างๆ อาทิ การอบรมทักษะการจัดการโครงการ และตามความประสงค์ของเจ้าหน้าที่จากประเทศที่เข้าร่วมโครงการ ซี่งสามารถทำได้โดย • เสนอความคิดเห็นผ่านอีเมลตั้งแต่บัดนี้จนถึงการประชุมผู้ประสานงานโครงการในระดับภูมิภาค (RCG meeting) • ข้อคิดเห็นในระหว่างการเข้าประชุมผู้ประสานงานโครงการในระดับภูมิภาค (RCG meeting) • จัดจ้างที่ปรึกษาด้านการจัดการเทคโนโลยีในฟาร์มเพื่อสนับสนุนการทำงานของเจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคจากประเทศผู้เข้าร่วมโครงการ

  16. Regional facilitation, coordination and disseminationการประสานงานระดับภูมิภาค • จัดตั้งหน่วยงานเพื่อประสานงานระดับภูมิภาค(Regional Facilitation Office, RFO)ที่สำนักงานFAO กรุงเทพ • ประสานงานและอำนวยความสะดวกแก่ประเทศที่เข้าร่วมโครงการในการดำเนินงาน • ทำงานร่วมกับประเทศที่เข้าร่วมโครงการอย่างใกล้ชิด • ติดต่อประสานงานกับสำนักงานใหญ่ของFAOที่โรม ผ่านการประชุมทางไกลทุกเดือน

  17. การประชุมกลุ่มประสานงานระดับภูมิภาค (Regional Coordination Group Meeting) และการประชุมเชิงปฎิบัติการระดับภูมิภาค (Regional Workshop) • จัดขึ้นช่วงกลางเดือนตุลาคมนี้ • วัตถุประสงค์ • ทบทวนความก้าวหน้าในการทำงานของประเทศต่างๆ ทบทวนนโยบายสิ่งแวดล้อมของประเทศที่เข้าร่วมโครงการและทบทวนแผนงานของหน่วยงานประสานงานระดับภูมิภาค(RFO) • ปรึกษาหารือด้านเทคนิคของโครงการ • ปรึกษาหารือเรื่องการเผยแพร่โครงการไปยังประเทศอื่นๆในภูมิภาคนี้

More Related