1 / 31

นโยบาย / ทิศทางการดำเนินงานด้านเอดส์ในกลุ่ม MSM/TG สู่เป้าหมาย Ending AIDS

นโยบาย / ทิศทางการดำเนินงานด้านเอดส์ในกลุ่ม MSM/TG สู่เป้าหมาย Ending AIDS. พญ. ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์ สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

Download Presentation

นโยบาย / ทิศทางการดำเนินงานด้านเอดส์ในกลุ่ม MSM/TG สู่เป้าหมาย Ending AIDS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบาย/ทิศทางการดำเนินงานด้านเอดส์ในกลุ่ม MSM/TG สู่เป้าหมาย Ending AIDS พญ. ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์ สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. Estimation and projection of annual new HIV, persons living with HIV and cumulative cases of HIV in Thailand 1985-2030 1,294,077 1,178,686 464,086 297,879 8,719 6,139

  3. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ที่มา: Summary Result 2010-2030 Projection for HIV/AIDS in Thailand, BOE. DDC. MOPH.

  4. ปี พ.ศ.

  5. HIV prevalence among MSM, MSW and TG in 12 provinces, Thailand 2010-2012 % Source: Integrated biological-behavioral (IBBS) surveillance in 12 provinces, Bureau of Epidemiology

  6. HIV prevalence among MSM by age, Thailand 2010-2012 % Source: Integrated biological-behavioral (IBBS) surveillance in 12 provinces, Bureau of Epidemiology

  7. Sexual behaviors with male temporary partner in past 3 months, 2012 % Source: Integrated biological-behavioral (IBBS) surveillance in 12 provinces, Bureau of Epidemiology

  8. Having correct HIV/AIDS knowledge, 2012 % Source: Integrated biological-behavioral (IBBS) surveillance in 12 provinces, Bureau of Epidemiology

  9. Urine test for STI, 2012 % Source: Integrated biological-behavioral (IBBS) surveillance in 12 provinces, Bureau of Epidemiology

  10. HIV and Syphilis among cohort MSM visited Silom Community Clinic during 2005-2011 • HIV prevalence increased from 24.6 to 29.4% • Syphilis prevalence increased from 5.0 to 12.5% • HIV incidence increased from 2.8 to 7.9 per 100 person-years • Syphilis incidence increased from 0.0 to 7.1 per 100 person-years

  11. ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

  12. ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ ให้ความสนใจพื้นที่ที่พบผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงสุด คาดว่าใน 31 จังหวัดมีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ช่องทางถ่ายทอดเชื้อ 6% 41% 32% 10% 11% 62% of new infections 41% คาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ระหว่าง 5 ปี เท่ากับ 40,340 คน

  13. แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2557-59 • Zero New HIV Infections • จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • Zero AIDS-related Deaths • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • Zero Discrimination • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ประชากรเป้าหมายมีพฤติกรรมปลอดภัยจากการติดเชื้อและได้รับบริการป้องกัน ประชาชนทราบสถานะการติดเชื้อและผู้ติดเชื้อได้ยาแต่เนิ่นๆ • Innovations and Changes • เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯใหม่มากที่สุด • ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะแวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา • เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมในระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น • พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ Optimization and Consolidation ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ มุ่งเน้นเป้าหมาย เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน

  14. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในประเทศไทยจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ในประเทศไทย VCT 90% in KAPs and treat at any CD4 Baseline scenario ข้อมูล นพ. วิวัฒน์ พีรพัฒนโภคิน จาก National Consultation on Strategic Use of ARVs, 9-10 August 2012

  15. Effective tools are available butneed translation into public health programme • การทราบสถานะการติดเชื้อเอชไอวีและได้รับรักษาต่อเนื่องจนตรวจไม่พบไวรัสในเลือดช่วยป้องกันการแพร่เชื้อได้ 96 % • ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสถานะการติดเชื้อเอชไอวีของตนเองและยังเข้าสู่ระบบการรักษาช้าเกินไป • การรักษาด้วยยาต้านไวรัสกับผู้ติดเชื้อเอชไอวีโดยไม่ต้องรอให้ระดับเม็ดเลือดขาวซีดีสี่ต่ำ จึงเป็นกลวิธีป้องกันเพิ่มขึ้นสำคัญที่หากทำร่วมกับการป้องกันผสมผสานจะให้ประสิทธิผลสูงสุดในการป้องกันการระบาดและสามารถยุติปัญหาเอดส์ได้ภายใน 20 ปี

  16. การเปลี่ยนวิธีทำงาน:ก้าวข้ามจาก การควบคุมไปสู่การยุติ ปัญหาเอดส์ ยุทธศาสตร์มุ่งเติมเต็มช่องว่างระหว่างการดำเนินงานในปัจจุบันกับการดำเนินงานที่มีประสิทธิผลที่จำเป็นต่อการยุติปัญหาเอดส์ โดย: 1. กำหนดชุดบริการ ที่เหมาะสมกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย และพื้นที่ 2.ผสมผสาน ประโยชน์ด้านการป้องกันของการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯกับการป้องกันด้านพฤติกรรม

  17. กลยุทธ์ต้องมีความมุ่งเน้น 3 เรื่อง • ชุดบริการ : • มีครบทั้ง BCC, Condom, HCT, STI, และ ART ได้คุณภาพที่ถูกต้องและถูกใจ • ด้านพื้นที่: พื้นที่ Hot spots และจังหวัดเป้าหมายซึ่งมีความชุกสูง, จำนวนประชากรเป้าหมายสำคัญมาก • กรุงเทพฯ • จังหวัดเร่งรัด 32 จังหวัด • จังหวัดที่เหลือ • ด้านประชากร : มุ่งครอบคลุมในกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูงสุด • ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย/สาวประเภทสอง • พนักงานบริการชาย • พนักงานบริการหญิง • ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด • ผู้ต้องขัง, เยาวชนในสถานพินิจ • คู่เพศสัมพันธ์ของ : • กลุ่มประชากรหลัก • ผู้ติดเชื้อฯซึ่งอยู่ในระบบดูแลสุขภาพ

  18. เราต้องการบรรลุความสำเร็จอะไร? ผลผลิตสำคัญ: • เน้นให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 และพื้นที่สำคัญ • กลุ่มเป้าหมายได้รับชุดบริการป้องกันที่เหมาะสม ( BCC, Condom + HCT + STI และ Harm Reduction) และมีพฤติกรรมปลอดภัยตามเกณฑ์ • การเพิ่มคุณภาพและบริการการดูแลรักษา ART ที่ต่อเนื่องกับการป้องกัน • ความครอบคลุมและการได้รับ ART เร็ว • Retention in service system • ภาพลักษณ์ต่อเอชไอวีทางการแพทย์เป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่ป้องกันได้ และต้องดูแลรักษาตลอดชีวิต

  19. กรอบแนวคิดหลักแผนงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์ การติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมทางกฎหมายให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลยุทธศาสตร์และการสร้างความเป็นเจ้าของร่วม การบริหารจัดการและสนับสนุนทางวิชาการ

  20. องค์ประกอบของกลยุทธ์ตรวจเลือดและรักษาทันที “Test and Treat” • การตรวจเลือด • ตรวจแต่เนิ่นๆ และตรวจเป็นประจำ เพื่อรู้สถานะการติดเชื้อของตนเองให้เร็วที่สุด • การรู้สถานะการติดเชื้อ เพื่อลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อไปให้คนอื่นโดยไม่ตั้งใจ • การรักษา • การรักษาด้วยยาต้านไวรัส เพื่อลดปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดและสารคัดหลั่ง • ปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดและสารคัดหลั่ง เป็นตัวชี้วัดสำคัญถึงโอกาสที่จะถ่ายทอดเชื้อให้คนอื่น การกินยาต้านไวรัสจนกดเชื้อได้เต็มที่  ลดโอกาสถ่ายทอดเชื้อให้คนอื่น • ประโยชน์ของยาต้านไวรัส จึงมีทั้งกับผู้ติดเชื้อเอง (โดยเฉพาะผู้ที่ภูมิต่ำแล้ว) และกับชุมชน

  21. บุคคลที่ทราบสถานะการติดเชื้อของตนเองควรส่งเสริมให้พาคู่มาตรวจและมีการเปิดเผยผลเลือดซึ่งกันและกันกับคู่บุคคลที่ทราบสถานะการติดเชื้อของตนเองควรส่งเสริมให้พาคู่มาตรวจและมีการเปิดเผยผลเลือดซึ่งกันและกันกับคู่ • สำหรับผู้ที่ตรวจพบว่าตนเองติดเชื้อ • ควรส่งเสริมให้พาคู่มารับการตรวจเลือดเสมอ • หากคู่ติดเชื้อ: ส่งเสริมการเข้ารับบริการรักษาแต่เนิ่นๆ • หากคู่ไม่ติดเชื้อ: ให้การป้องกัน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย ตรวจเลือดซ้ำเป็นระยะ • สำหรับผู้ที่ตรวจพบว่าตนเองไม่ติดเชื้อเอชไอวี • ในรายที่เป็นประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น หญิงบริการทางเพศ ชายรักชาย ผู้ใช้สารเสพติดเข้าเส้น ควรส่งเสริมให้พาคู่มาตรวจเลือดและเปิดเผยผลเลือดแก่คู่ • ในประชากรกลุ่มอื่น พิจารณาเป็นรายๆ ไป เช่น หญิงตั้งครรภ์ตามนโยบายกรมอนามัย เป็นต้น

  22. โครงการนำร่อง Test and Treat ใน MSM/TG ในประเทศไทย Lampang Hospital (n=100) Ubonratchatani Hospital (n=200) • โครงการโดยความร่วมมือของ • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย • สถานที่วิจัย • คลีนิคนิรนาม สภากาชาดไทย • รพ.ท่าวังหิน และรพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี • รพ.ลำปาง จ.ลำปาง • รพ.มหาสารคาม จ.มหาสารคาม Thai Red Cross Anonymous Clinic (n=500) Mahasarakram Hospital

  23. วัตถุประสงค์หลัก • เพื่อประเมินการยอมรับ “การตรวจเอชไอวี” ใน MSM/TG ไทย • เพื่อประเมินการยอมรับ “การเริ่มยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงถึง CD4” ใน MSM/TG ที่ตรวจพบว่าติดเชื้อ เพื่อการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี

  24. วัตถุประสงค์รอง • เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้วิธีการสนับสนุนการคงอยู่ในโครงการแบบเข้มข้น เทียบกับแบบมาตรฐาน • เพื่อประเมินความสม่ำเสมอในการกินยาต้านไวรัส และการกดปริมาณเชื้อไวรัสในเลือดและในน้ำอสุจิ/ทวารหนัก • เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมเสี่ยง และอัตราการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในช่วงระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ

  25. กลุ่มประชากรที่เข้าร่วมโครงการกลุ่มประชากรที่เข้าร่วมโครงการ • จำนวน 800 ราย • ติดตามเป็นเวลา 1 ปี • เกณฑ์การรับเข้า • MSM/TG ชาวไทย อายุ 18 ปีขึ้นไป • ไม่เคยตรวจเอชไอวีมาก่อน หรือเคยตรวจครั้งสุดท้ายเป็นลบ • ลงนามในใบแสดงความยินยอมเข้าร่วมโครงการ • ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา มีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยอย่างน้อย 1 ครั้ง หรือ มีคู่เพศสัมพันธ์ที่เป็นผู้ชาย 3 คนขึ้นไป • เกณฑ์การคัดออก • ทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีอยู่แล้ว

  26. รูปแบบโครงการ

  27. ข้อมูลเบื้องต้นพฤศจิกายน 2555 – ธันวาคม 2556 Screening n=1,484 Enrollment n=810 (TG 14%) HIV-positive n=134 (19% of MSM, 3% of TG) HIV-negative n=676 Already came for ART discussion visit n=117 HIV seroconversion n=13 (7.25 per 100 PY) Accept immediate ART n=97 (83%) Did not accept immediate ART N=27 (17%) Overall ART initiation rate (including participants with CD4<350 and/or later on decided to take ART) = 97%

  28. MSM/TG ที่ตรวจพบว่าติดเชื้อเมื่อเข้าโครงการฯ ส่วนใหญ่คิดอยู่แล้วว่าตนเองมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อ และไม่ค่อยใช้ถุงยาง

  29. MSM/TG ที่ตรวจพบว่าติดเชื้อเมื่อเข้าโครงการฯ มีอัตราความชุกของ asymptomatic STD สูงกว่าผู้ไม่ติดเชื้อ • เป็นการคัดกรองโดยไม่คำนึงถึงอาการและอาการแสดง และใช้วิธีการตรวจ nucleic acid amplification test สำหรับ gonorrhea และ chlamydia

  30. MSM/TG ที่ตรวจพบว่าติดเชื้อเมื่อเข้าโครงการฯ ส่วนใหญ่มี CD4 ต่ำ และมี VL สูง ความชุกของ HIV และ asymptomatic STD สูงมาก, HIV incidence สูงมาก  แนะนำ asymptomatic STD screening, regular HIV testing และ combination HIV prevention package สำหรับ MSM/TG

  31. แผนการขยายกลยุทธ์ Test and Treat ไปยังจังหวัดนำร่องอื่นๆ • งบประมาณจาก USAID สปสช.องค์การเภสัชกรรม และกรมควบคุมโรคโดยมีศูนย์วิจัยโรคเอดส์ และ Thailand-US CDC Collaboration ร่วมเป็นผู้ดำเนินงาน • ปี 2557-2559: เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ 8,000 คน ในจังหวัดสงขลา (หาดใหญ่) เชียงใหม่ ชลบุรี (พัทยา) อุดรธานี ขอนแก่น และปทุมธานี • ศึกษารูปแบบการจัดกลยุทธ์รูปแบบ facility-based (ในรพ.) vs. community-based (ใน drop-in center) • เสริมศักยภาพ community-based organization ให้สามารถจัดเจ้าหน้าที่ของตนเองในการให้บริการ HIV counseling และ HIV testing (finger-prick blood) ผ่านการอบรมและควบคุมคุณภาพ

More Related