1 / 61

การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา

การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา. โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2551. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ

tanya-le
Download Presentation

การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการเตรียมการเข้าสู่กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

  2. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2551

  3. ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม 2552

  4. ประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2552

  5. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา - ด้านกายภาพ - ด้านวิชาการ - ด้านการเงิน - ด้านการบริหารจัดการ มาตรฐานด้านการดำเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา - ด้านการผลิตบัณฑิต - ด้านการวิจัย - ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม - ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

  6. มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา แบ่งกลุ่มสถาบันเป็น 4 กลุ่ม  วิทยาลัยชุมชน  สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี  สถาบันเฉพาะทาง  สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับ บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก

  7. เป้าหมาย สกอ. ปี 2552 เป็นปีแห่งคุณภาพการอุดมศึกษาไทย เริ่มต้นปฏิรูปการศึกษารอบ 2 (2552 - 2562) ปีแห่งคุณภาพการอุดมศึกษาไทย - ยกระดับคุณภาพในกลุ่มสาขาวิชา - ยกระดับองค์รวมของสถาบันอุดมศึกษา - พัฒนาคุรภาพอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

  8. ขีดความสามารถในการวิจัยของประเทศ IMD (The International Institute for Management Development) ชี้ว่าประเทศไทยมีเรื่องเร่งด่วนที่ควรแก้ไข 3 ประเด็น  การเพิ่มการลงทุน เพื่อการวิจัยและพัฒนาให้สูงขึ้น  การเพิ่มจำนวนและคุณภาพบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา  การส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัยและ พัฒนามากขึ้น

  9. การเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและ พัฒนาของประเทศ สกอ. - ดำเนินโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ งบประมาณ 9,000 ล้านบาท (9 มหาวิทยาลัย) ระยะเวลา 3 ปี (2553 - 2555) เป็นโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2) - โครงการ SP 2

  10. มหาวิทยาลัย 69 แห่ง มีงบประมาณ 3,000 ล้าน (โครงการ SP 2) ระยะเวลา 3 ปี (2553 – 2555) สกอ. - จะจัดสรรเพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนอุดมศึกษา ตามแผน 15 ปี - จัดสรรให้ครบวงจร ตามกลุ่มอาจารย์ - จัดสรร “แบบเปิดกว้างและแข่งขัน” เพื่อให้เท่าเทียมกัน ให้โควต้าสำหรับมหาวิทยาลัยกลุ่มต่าง ๆ เน้นความโดด เด่น เป็นเลิศเฉพาะทาง อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

  11. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education : TQF: HEd) บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน

  12. หลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติหลักการของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ • ยึดหลักความสอดคล้อง พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 • มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต (Learning Outcomes) • มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ เข้าด้วยกันและเชื่อมโยง • เป็นเรื่องเดียวกัน • มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันอุดมศึกษาใดๆ เป็นที่ยอมรับ • และเทียบคียงกัน

  13. หลักการสำคัญของ TQF • เน้นการกำหนด Learning Outcomes • เน้นการประเมินตนเอง (Internal Evaluation) ตาม • Learning Outcomes • ดำเนินการร่วมกันในแต่ละสาขา • แต่ละกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษาเอาไปจัดจุดเน้น/ • จุดเด่นของตนเอง (เห็นด้วยไหม)

  14. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบมาตรฐาน ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนว ทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิต ที่มี คุณภาพและเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิในระดับ อุดมศึกษา

  15. มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา หมายถึง กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตใน แต่ละระดับคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา - กำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต - ปริญญา - องค์ความรู้ที่เป็นเนื้อหา ที่จำเป็นจะต้องมีในหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิ

  16. มาตรฐานคุณวุฒิของสาขา/สาขาวิชา เป็นหลักประกันว่าบัณฑิต ที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา ต่าง ๆ ในสาขา/สาขาวิชา และระดับคุณวุฒิเดียวกัน จะมีผลการเรียนรู้ ไม่น้อยกว่าที่กำหนด NOTE: - สถาบันอุดมศึกษา สามารถเพิ่มเนื้อหาวิชาที่นอกเหนือจาก ที่กำหนดได้ และตรงตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของ แต่ละสถาบัน (มคอ. 1) - สกอ. มอบคณะผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา/สาขาวิชาร่วมกัน พัฒนา

  17. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย  ระดับคุณวุฒิ ระดับที่ 1 อนุปริญญาตรี (3 ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก

  18.  คุณภาพของบัณฑิต ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่ กกอ. กำหนดและต้องครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน  ด้านคุณธรรม จริยธรรม  ด้านความรู้  ด้านทักษะทางปัญญา  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

  19. สาขา / สาขาวิชาที่เน้นปฏิบัติต้องเพิ่ม มาตรฐานผลการเรียนรู้ ด้านทักษะพิสัย

  20. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ • พ.ศ. 2552 • มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ของแต่ละระดับคุณวุฒิ • ลักษณะของหลักสูตร • ชื่อปริญญา จำนวนหน่วยกิต • ระยเวลาในการศึกษาและการ • เทียบโอนผลการเรียนรู้ ต้องเป็นไปตามที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนดไว้ในแนว ทางปฎิบัติ ให้ เป็นไปตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ

  21. กรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ : -  พัฒนาหรือปรับปรุง รายละเอียดของหลักสูตรโดยจัดทำ - รายละเอียดของหลักสูตร - รายละเอียดของรายวิชา - รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)

  22. สิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการสิ่งที่สถาบันการศึกษาต้องดำเนินการ รายงานผล การดำเนินการของรายวิชา การดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) การดำเนินการของหลักสูตร ตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุม (Learning outcomes)

  23. สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษาต้องดำเนินการ (ต่อ) • พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร โดยมีตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพหลักสูตร • การจัดการเรียนการสอน • เกณฑ์การประเมิน • จัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยมาตรฐานคุณวุฒิ ตามระดับคุณวุฒิของสาขา / สาขาวิชานั้นๆ

  24. ให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน ตามประกาศนี้ ต่อสาธารณะตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา กำหนด

  25. ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตรให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาหลักสูตร • ปีการศึกษา 2553 - หลักสูตรที่จะรับนักศึกษาใหม่ เป็น ครั้งแรกต้องเป็นไปตามประกาศนี้ • ปีการศึกษา 2555 - หลักสูตรที่เปิดสอนอยู่แล้ว ต้อง • ปรับปรุงให้สอดคล้องกับประกาศนี้

  26. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 สถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการพัฒนา / ปรับปรุง รายละเอียดของ หลักสูตร  ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิสาขา / สาขาวิชา ของระดับคุณวุฒิเป็นแนวทางในการพัฒนา / ปรับปรุง  ใช้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกรอบคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เป็นแนวทางในการพัฒนา / ปรับปรุง

  27. สถาบันอุดมศึกษา จัดทำ • รายละเอียดของหลักสูตร • รายละเอียดของรายวิชา • รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) • ตามแบบ มคอ. 2 • มคอ. 3 • มคอ. 4

  28. ให้สถาบันอุดมศึกษา • กำหนดระบบและกลไกของการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • อนุมัติหลักสูตรก่อนเปิดสอน • เสนอสกอ.ภายใน 30 วัน นับแต่สภาสถาบันอนุมัติ • ประเมินหลักสูตร เพื่อพิจารณาอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5 ปี

  29. การบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะการบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด พัฒนาอาจารย์ทั้งด้านวิชาการ วิธีการสอนและวิธีการวัดผล อย่างต่อเนื่อง จัดสรรทรัพยากร เพื่อการเรียนการสอนและการวิจัย ให้ เพียงพออย่างมีคุณภาพหรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดให้มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ครอบคลุม มาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้าน

  30. จัดให้มีรายงานผลการจัดการศึกษาเป็นรายวิชาทุกภาค • การศึกษาและเน้นรายหลักสูตรทุกปีการศึกษา (แบบ มคอ. 5 มคอ.6 และ มคอ. 7) • ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานอย่าง • ต่อเนื่อง และรายงานผลการจัดการศึกษาต่อสภา • สถาบันอุดมศึกษาทุกปีการศึกษา

  31. อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาทุกรายวิชาในหลักสูตรและรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. 3 และมคอ. 4

  32. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบ TQF รายละเอียดของหลักสูตร (program specification) หมายถึง - คำอธิบายภาพรวมของการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอนที่จะทำให้บัณฑิตบรรลุผลการเรียนรู้ของหลักสูตรนั้นๆ โดยจะถ่ายทอดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิตที่กำหนด ไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาระดับชาติ และมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับการศึกษาของสาขา / สาขาวิชา ไปสู่การปฏิบัติ ในหลักสูตรซึ่งคณาจารย์ผู้สอน จะต้องร่วมมือกันวางแผน การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร

  33. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • พิจารณาความพร้อมและศักยภาพของสถาบัน • สถาบันตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชา..... ตามาตรฐานคุณวุฒิ • ระดับ.........สาขา/สาขาวิชา...........ประกอบด้วย : • -อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน • - ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขา / สาขาวิชา....ซึ่งเป็นบุคคล • ภายนอกอย่างน้อย 2 คน • - พัฒนาหลักสูตร โดยมีหัวข้อและรายละเอียดตามที่กำหนดในแบบ • มคอ. 2

  34. การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) • การพัฒนาหลักสูตร สาขา/สาขาวิชา.....สถาบันอาจเพิ่มเติมผลการเรียนรู้ • ที่คาดหวัง นอกจากมาตรฐานที่กำหนด โดยแสดงแผนที่การกระจายความ รับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) • - ความรับผิดชอบหลัก • - ความรับผิดชอบรอง

  35. รายละเอียดของหลักสูตร • ช่วยอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าตนต้องเรียนวิชาอะไรบ้าง • เข้าใจถึงวิธีการสอน วิธีการเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล • ทำให้มั่นใจว่าเมื่อเรียนสำเร็จแล้วจะบรรลุผลการเรียนรู้ ตามที่ • กำหนดไว้ในหลักสูตร • แสดงความสัมพันธ์ของหลักสูตรกับองค์ประกอบในการเรียน เพื่อนำไปสู่คุณวุฒิตามที่กำหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ

  36. การจัดทำรายละเอียดของรายวิชาการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา • ข้อมูลแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชา • วัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ • แนวทางปลูกฝังทักษะต่างๆ และคุณลักษณะอื่นๆ • กำหนดรายละเอียดระยะเวลาที่ใช้เรียน • วิธีการเรียนการสอน • การวัดและประเมินผลในรายวิชา • หนังสืออ้างอิง • กำหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง

  37. รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม • ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือ • กิจกรรม • ความรู้ ความเข้าใจที่นักศึกษาจะได้รับจากการออกฝึก • กระบวนการ / วิธีการปลูกฝังทักษะและคุณลักษณะอื่นๆ • เกณฑ์การวัดและประเมินผลนักศึกษาและการประเมิน การดำเนินการ

  38. การประกันคุณภาพหลักสูตรการประกันคุณภาพหลักสูตร • การบริหารหลักสูตร • การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ • การบริหารคณาจารย์ • การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน • การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา • ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือ ความพึงพอใจ • ของผู้ใช้บัณฑิต • ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน

  39. การประกันคุณภาพหลักสูตร ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกหลักสูตร  กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินที่สะท้อนการ ดำเนินงานตามกรอบ TQF  ดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามระบบประกันคุณภาพ ภายในของหลักสูตร  รายงานผลการดำเนินงานต่อสภาสถาบันฯ สกอ. และ สาธารณะ  นำผลการประเมินมาปรับปรุงคุณภาพหลักสูตรให้ทันสมัย อยู่เสมอ

More Related